ครูสุโขทัย ขอนำเสนอระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในสถานศึกษา เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทั่วไปให้กับทุกท่านที่กำลังจะสอบนะขอรับ ไม่ได้เข้าบล๊อกนาน ก็เลยเพิ่มความรู้ให้กับพี่น้องเยอะๆเลยนะขอรับ
การกำหนดกลยุทธ์พัฒนาโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5 กลุ่ม คือ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการพัฒนาด้านภาครัฐ ( E-Government )
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการพัฒนาด้านพานิชย์ ( E-Commerce )
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ( E-Industry )
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการพัฒนาด้านการศึกษา ( E-Education )
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการพัฒนาด้านสังคม ( E-Society )
รูปแบบการเรียกดูข้อมูล ของ สพฐ.
PMOC-----------ศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี
MOC-------------ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวงศึกษาธิการ
DOC--------------ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ.
AOC-------------ศูนย์ปฏิบัติการ สพท.
SOC--------------ศูนย์ปฏิบัติการ โรงเรียน
โปรแกรมข้อมูลสถานศึกษา
1. โปรแกรมข้อมูล 10 มิถุนายน OBEC
2. โปรแกรมระบบครุภัณฑ์การศึกษา M-OBEC
3. โปรแกรมอาคารและสิ่งก่อสร้าง B-OBEC
4. โปรแกรมบริหารงานบุคคล P-OBEC
5. โปรแกรมข้อมูลรายบุคคล OBEC SMIS
6. โปรแกรมคำนวณต้นทุนผลผลิต OUC
วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2552
โครงการห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
วันนี้เพิ่มเติมความรู้จ้า คำว่า SP : Stimulus Package SP1 โครงการเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ SP2 แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง วันนี้จะเสนอโครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ( นายจุรินทร์ ลัษณะวิศิษฏ์ ) ได้กำหนดนโยบายการพัฒนาห้องสมุดของสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชนได้อย่างสมบูรณ์ โดยได้กำหนดแนวทางให้เป็น “ห้องสมุด 3 ดี” ที่เน้นการพัฒนาใน 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ หนังสือดีและสื่อการเรียนรู้ดี บรรยากาศและสถานที่ดี และบรรณารักษ์และกิจกรรมดี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับคุณภาพห้องสมุดในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรง
2. เพื่อจัดให้มีหนังสือและสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อความต้องการและเหมาะสมกับนักเรียน ครู ผู้บริหาร และคนในชุมชน
3. เพื่อพัฒนาและจัดให้มีครูบรรณารักษ์ หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ในโรงเรียนทุกโรง
แนวคิดหลักในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ยึดหลัก 3 ดี ได้แก่
1. กลุ่มหนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี คือ ทุกห้องสมุดต้องมีจำนวนหนังสือ อย่างน้อย 5 เล่ม ต่อ นักเรียน 1 คน กลุ่มหนังสือที่ห้องสมุดต้องมี ได้แก่
1.1 กลุ่มหนังสือส่งเสริมการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ครู
1.2 กลุ่มหนังสืออ้างอิง เช่น หนังสือพระราชนิพนธ์ สารานุกรม พจนานุกรม ฯลฯ
1.3 กลุ่มหนังสือดีที่ควรอ่านหรือหนังสือแนะนำ เช่นหนังสือที่ชนะการประกวดหนังสือดีเด่น หนังสือที่ผ่านการคัดเลือกจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆทั้งในรูปของวรรณกรรม เช่นนิทาน การ์ตูน สารคดี เรื่องสั้น หนังสือภาพ ฯลฯ
1.4 ของเล่นเด็ก สร้างสรรค์ เช่น บล็อกไม้ ตัวต่อภาพ ( จิ๊กซอว์ ) รูปทรงเรขาคณิต โลโก้ ตุ๊กตาคน – สัตว์ ดินน้ำมัน วาดภาพ – ระบายสี เกมส์ ฯลฯ
2. บรรยากาศและสถานที่ดี คือทุกโรงเรียนต้องมีห้องสมุดอย่างน้อยขนาด 1 ห้องเรียนขึ้นไป มีการจัดมุมหรือองค์ประกอบแบ่งเป็น ส่วนที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิง ส่วนอ่านเพื่อการพักผ่อน หรือดูหนัง ฟังเพลง ส่วนการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่าย ฯลฯ
3. ครูบรรณารักษ์และกิจกรรมดี คือทุกโรงเรียนต้องมีครูบรรณารักษ์หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ อย่างน้อย 1 คน สำหรับการให้บริการอย่างน้อยต้องให้บริการได้ในช่วงเวลาเช้าก่อนเข้าห้องเรียน พักกลางวัน และหลักเลิกเรียน และมีการจัดกิจกรรมห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียนที่ยังไม่มีห้องสมุดได้รับการพัฒนาให้มีห้องสมุดที่มีความพร้อมทั้งด้านหนังสือ สื่อการเรียนรู้ สื่อ ICT ที่ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน
2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียนที่มีห้องสมุดจะได้รับการปรับปรุงให้ให้มีคุณภาพทันสมัยทั้งด้านอาคารสถานที่และบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้
3. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงที่มีห้องสมุดระดับมาตรฐานได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดสมัยใหม่
4. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงมีครูบรรณารักษ์ หรือผู้ทำหน้าที่บรรณารักษ์ที่มีคุณภาพ สามารถบริหารจัดการห้องสมุดแนวใหม่และมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
5. มีองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่เห็นความสำคัญของห้องสมุดและการส่งเสริมการอ่าน เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกโรง จำนวน 31,821 โรง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 โรงเรียนมัธยมศึกษาสู่มาตรฐานสากล จำนวน 3,173 โรง
1.1 โรงเรียนมัธยมศึกษาสู่มาตรฐานสากล จำนวน 673 โรง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 370 โรง
- โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จำนวน 273 โรง
- โรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด จำนวน 30 โรง
1.2 โรงเรียนในฝัน จำนวน 2,500 โรง
- โรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 1 จำนวน 921 โรง
- โรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 2 จำนวน 865 โรง
- โรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 3 จำนวน 714 โรง
กลุ่มที่ 2 โรงเรียนขนาดเล็กสู่ศูนย์การเรียนรู้คุณภาพ จำนวน 10,529 โรง
2.1 โรงเรียนที่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 4,000 โรง
2.2 โรงเรียนที่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 3,000 โรง
2.3 โรงเรียนที่ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 3,529 โรง
กลุ่มที่ 3 โรงเรียนการศึกษาพิเศษ/โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จำนวน 93 โรง
กลุ่มที่ 4 โรงเรียนยกระดับคุณภาพห้องสมุด จำนวน 18,026 โรง
4.1 โรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 3,386 โรง
4.2 โรงเรียนอื่นๆ จำนวน 14,440 โรง
4.3 โรงเรียนอื่นๆ จำนวน 200 โรง
การจัดสรรงบประมาณ
1. หนังสือดีและสื่อการเรียนรู้ดี จำนวน 1,498,120,000 บาท
2. บรรยากาศและสถานที่ดี จำนวน 1,546,634,500 บาท**
3. บรรณารักษ์และกิจกรรมดี จำนวน 32,000,000 บาท
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายใต้ แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ( นายจุรินทร์ ลัษณะวิศิษฏ์ ) ได้กำหนดนโยบายการพัฒนาห้องสมุดของสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชนได้อย่างสมบูรณ์ โดยได้กำหนดแนวทางให้เป็น “ห้องสมุด 3 ดี” ที่เน้นการพัฒนาใน 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ หนังสือดีและสื่อการเรียนรู้ดี บรรยากาศและสถานที่ดี และบรรณารักษ์และกิจกรรมดี
วัตถุประสงค์
1. เพื่อยกระดับคุณภาพห้องสมุดในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรง
2. เพื่อจัดให้มีหนังสือและสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อความต้องการและเหมาะสมกับนักเรียน ครู ผู้บริหาร และคนในชุมชน
3. เพื่อพัฒนาและจัดให้มีครูบรรณารักษ์ หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ในโรงเรียนทุกโรง
แนวคิดหลักในการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ยึดหลัก 3 ดี ได้แก่
1. กลุ่มหนังสือและสื่อการเรียนรู้ดี คือ ทุกห้องสมุดต้องมีจำนวนหนังสือ อย่างน้อย 5 เล่ม ต่อ นักเรียน 1 คน กลุ่มหนังสือที่ห้องสมุดต้องมี ได้แก่
1.1 กลุ่มหนังสือส่งเสริมการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ครู
1.2 กลุ่มหนังสืออ้างอิง เช่น หนังสือพระราชนิพนธ์ สารานุกรม พจนานุกรม ฯลฯ
1.3 กลุ่มหนังสือดีที่ควรอ่านหรือหนังสือแนะนำ เช่นหนังสือที่ชนะการประกวดหนังสือดีเด่น หนังสือที่ผ่านการคัดเลือกจากองค์กร/หน่วยงานต่างๆทั้งในรูปของวรรณกรรม เช่นนิทาน การ์ตูน สารคดี เรื่องสั้น หนังสือภาพ ฯลฯ
1.4 ของเล่นเด็ก สร้างสรรค์ เช่น บล็อกไม้ ตัวต่อภาพ ( จิ๊กซอว์ ) รูปทรงเรขาคณิต โลโก้ ตุ๊กตาคน – สัตว์ ดินน้ำมัน วาดภาพ – ระบายสี เกมส์ ฯลฯ
2. บรรยากาศและสถานที่ดี คือทุกโรงเรียนต้องมีห้องสมุดอย่างน้อยขนาด 1 ห้องเรียนขึ้นไป มีการจัดมุมหรือองค์ประกอบแบ่งเป็น ส่วนที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าอ้างอิง ส่วนอ่านเพื่อการพักผ่อน หรือดูหนัง ฟังเพลง ส่วนการสืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่าย ฯลฯ
3. ครูบรรณารักษ์และกิจกรรมดี คือทุกโรงเรียนต้องมีครูบรรณารักษ์หรือผู้ที่ทำหน้าที่บรรณารักษ์ อย่างน้อย 1 คน สำหรับการให้บริการอย่างน้อยต้องให้บริการได้ในช่วงเวลาเช้าก่อนเข้าห้องเรียน พักกลางวัน และหลักเลิกเรียน และมีการจัดกิจกรรมห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียนที่ยังไม่มีห้องสมุดได้รับการพัฒนาให้มีห้องสมุดที่มีความพร้อมทั้งด้านหนังสือ สื่อการเรียนรู้ สื่อ ICT ที่ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน
2. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงเรียนที่มีห้องสมุดจะได้รับการปรับปรุงให้ให้มีคุณภาพทันสมัยทั้งด้านอาคารสถานที่และบรรยากาศที่เอื้อต่อการอ่านและการเรียนรู้
3. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงที่มีห้องสมุดระดับมาตรฐานได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดสมัยใหม่
4. โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกโรงมีครูบรรณารักษ์ หรือผู้ทำหน้าที่บรรณารักษ์ที่มีคุณภาพ สามารถบริหารจัดการห้องสมุดแนวใหม่และมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมห้องสมุดและกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
5. มีองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่เห็นความสำคัญของห้องสมุดและการส่งเสริมการอ่าน เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกโรง จำนวน 31,821 โรง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 โรงเรียนมัธยมศึกษาสู่มาตรฐานสากล จำนวน 3,173 โรง
1.1 โรงเรียนมัธยมศึกษาสู่มาตรฐานสากล จำนวน 673 โรง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 370 โรง
- โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จำนวน 273 โรง
- โรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด จำนวน 30 โรง
1.2 โรงเรียนในฝัน จำนวน 2,500 โรง
- โรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 1 จำนวน 921 โรง
- โรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 2 จำนวน 865 โรง
- โรงเรียนในฝัน รุ่นที่ 3 จำนวน 714 โรง
กลุ่มที่ 2 โรงเรียนขนาดเล็กสู่ศูนย์การเรียนรู้คุณภาพ จำนวน 10,529 โรง
2.1 โรงเรียนที่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 4,000 โรง
2.2 โรงเรียนที่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 3,000 โรง
2.3 โรงเรียนที่ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 3,529 โรง
กลุ่มที่ 3 โรงเรียนการศึกษาพิเศษ/โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จำนวน 93 โรง
กลุ่มที่ 4 โรงเรียนยกระดับคุณภาพห้องสมุด จำนวน 18,026 โรง
4.1 โรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 3,386 โรง
4.2 โรงเรียนอื่นๆ จำนวน 14,440 โรง
4.3 โรงเรียนอื่นๆ จำนวน 200 โรง
การจัดสรรงบประมาณ
1. หนังสือดีและสื่อการเรียนรู้ดี จำนวน 1,498,120,000 บาท
2. บรรยากาศและสถานที่ดี จำนวน 1,546,634,500 บาท**
3. บรรณารักษ์และกิจกรรมดี จำนวน 32,000,000 บาท
การจัดการความรู้
ไม่ได้เข้าบล๊อกมานานเลย.....เนื่องจากไปอบรมนะขอรับ( สารพัดเหตุผลที่จะบอก)..อีกอย่างหนึ่งก็คือว่าช่วงนี้ใกล้สิ้นปีงบประมาณแล้วต้องตรวจสอบการเงิน พัสดุให้เรียบร้อยก่อนนะ.....ส่วน SP2 ก็กำลังมาอีก....พูดถึงแต่ SP2 ,CL มันแปลว่าหยังน้อพี่น้อง.......ข้อสอบนะจะบอกให้ เอาล่ะมาร่วมการจัดการความรู้กันเลยก็แล้วกันเน๊อะ
การจัดการความรู้ ( Knowledge Management )
ความรู้เกิดจากสมองของมนุษย์ได้มีการพัฒนาการมาตั้งแต่เด็กเล็กๆโดยเฉพาะเด็กทีอายุต่ำกว่า 3 ขวบ จะเป็นวัยที่มีการพัฒนาการทางสมองมากที่สุด
ความรู้ คือสารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆลำดับชั้นความรู้ดังนี้
ข้อมูล( Data )-------สารสนเทศ ( Information)---------ความรู้( Knowledge )--------ปัญญา ( Wisdom )
การทำหน้าที่ของสมอง
ซีกซ้าย ทำหน้าที่ ช่วยในการใช้ภาษาพูด การคิดวิเคราะห์ การจัดลำดับก่อนหลัง การเรียนรู้ภาษาและคณิตศาสตร์
ซีกขวา ทำหน้าที่ ช่วยเรื่องภาษา ท่าทาง จินตนาการ ไหวพริบ ความคิดริเริ่ม
ประเภทของความรู้
1. ความรู้ฝังลึก ( Tacit Knowledge ) ความรู้แบบนามธรรม เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ การคิดวิเคราะห์
2. ความรู้ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge ) ความรู้แบบรูปธรรม เป็นความรู้ที่รวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการต่างๆเช่นการบันทึก หนังสือ
การจัดการความรู้กับ โมเดลปลาทู
โมเดลปลาทู เป็นโมเดลอย่างง่ายของสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ ( สคส.) ที่เปรียบเทียบการจัดการความรู้เหมือนกับปลาทู ตัวหนึ่งที่แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. ส่วนหัวปลา ( Knowledge Vision—KV ) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะจัดการความรู้ต้องตอบคำถามให้ได้ว่าเราจะทำ KM เพื่ออะไร
2. ส่วนตัวปลา ( Knowledge Sharing—KS ) หมายถึงส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งจะถือว่าเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคลและองค์กร
3. ส่วนหางปลา ( Knowledge Assets—KA ) หมายถึงส่วนของคลังความรู้ หรือขุมความรู้ที่อาจเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ
เป้าหมายของการจัดการความรู้
1. พัฒนางาน
2. พัฒนาคน
3. พัฒนาฐานความรู้องค์กรหรือหน่วยงาน
การคิดแบบหมวก 6 ใบ
Edward de Bono ได้ทำการคิดค้นเทคนิคการคิด six thinking hats ขึ้นมาเพื่อเป็นระบบความคิดที่ทำให้ผู้เรียนมีหลักในการจำแนกความคิดออกเป็น 6 ด้าน
1. หมวกสีขาว ใช้คำถามกระตุ้นให้เสนอข้อมูลที่เป็นจริง ข้อเท็จจริง
2. หมวกสีแดง ใช้คำถามกระตุ้นให้เกิดการอธิบายความรู้สึกต่อข้อมูล เรื่องราว เหตุการณ์
3. หมวกสีเหลือง ใช้คำถามกระตุ้นให้ค้นหาข้อดี จุดเด่น ของข้อมูล เรื่องราวเหตุการณ์
4. หมวกสีดำ ใช้คำถามที่ระบุสาเหตุของปัญหา ความไม่สมบูรณ์ ความล้มเหลว
5. หมวกสีเขียว ใช้คำถามที่เสนอแนะวิธีการแก้ไข การเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งใหม่ ทางเลือกใหม่
6. หมวกสีฟ้า ใช้คำถามเพื่อการตัดสินใจหรือสรุปข้อมูล เช่นข้อคิด ความรู้ทีได้รับ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( School Based Management : SBM )
ที่มาของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เกิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 มาตรา 39 กำหนดให้มีการกระจายอำนาจไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ด้านวิชาการ งบประมาณ งานบริหารบุคคล และงานบริหารทั่วไป
รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก
2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก
3. รูปแบบที่มีชุมชนเป็นหลัก โรงเรียนสังกัด สพฐ. ใช้รูปแบบนี้
4. รูปแบบที่มีครูและชุมชนเป็นหลัก
หลักของการบริหารจัดการโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
1. หลักการกระจายอำนาจ สำคัญที่สุด
2. หลักการบริหารตนเอง
3. หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. หลักการพัฒนาทั้งระบบ
5. หลักความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
6. หลัการสร้างแรงจูงใจ
วันนี้พอแค่นี้ก่อนนะ เดี๋ยวคราวหน้าจะมาบอก เกี่ยวกับ SP2 จ้า
การจัดการความรู้ ( Knowledge Management )
ความรู้เกิดจากสมองของมนุษย์ได้มีการพัฒนาการมาตั้งแต่เด็กเล็กๆโดยเฉพาะเด็กทีอายุต่ำกว่า 3 ขวบ จะเป็นวัยที่มีการพัฒนาการทางสมองมากที่สุด
ความรู้ คือสารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิดเปรียบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็นความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์ในการสรุปและตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆลำดับชั้นความรู้ดังนี้
ข้อมูล( Data )-------สารสนเทศ ( Information)---------ความรู้( Knowledge )--------ปัญญา ( Wisdom )
การทำหน้าที่ของสมอง
ซีกซ้าย ทำหน้าที่ ช่วยในการใช้ภาษาพูด การคิดวิเคราะห์ การจัดลำดับก่อนหลัง การเรียนรู้ภาษาและคณิตศาสตร์
ซีกขวา ทำหน้าที่ ช่วยเรื่องภาษา ท่าทาง จินตนาการ ไหวพริบ ความคิดริเริ่ม
ประเภทของความรู้
1. ความรู้ฝังลึก ( Tacit Knowledge ) ความรู้แบบนามธรรม เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ การคิดวิเคราะห์
2. ความรู้ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge ) ความรู้แบบรูปธรรม เป็นความรู้ที่รวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการต่างๆเช่นการบันทึก หนังสือ
การจัดการความรู้กับ โมเดลปลาทู
โมเดลปลาทู เป็นโมเดลอย่างง่ายของสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้ ( สคส.) ที่เปรียบเทียบการจัดการความรู้เหมือนกับปลาทู ตัวหนึ่งที่แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. ส่วนหัวปลา ( Knowledge Vision—KV ) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะจัดการความรู้ต้องตอบคำถามให้ได้ว่าเราจะทำ KM เพื่ออะไร
2. ส่วนตัวปลา ( Knowledge Sharing—KS ) หมายถึงส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งจะถือว่าเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคคลและองค์กร
3. ส่วนหางปลา ( Knowledge Assets—KA ) หมายถึงส่วนของคลังความรู้ หรือขุมความรู้ที่อาจเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ
เป้าหมายของการจัดการความรู้
1. พัฒนางาน
2. พัฒนาคน
3. พัฒนาฐานความรู้องค์กรหรือหน่วยงาน
การคิดแบบหมวก 6 ใบ
Edward de Bono ได้ทำการคิดค้นเทคนิคการคิด six thinking hats ขึ้นมาเพื่อเป็นระบบความคิดที่ทำให้ผู้เรียนมีหลักในการจำแนกความคิดออกเป็น 6 ด้าน
1. หมวกสีขาว ใช้คำถามกระตุ้นให้เสนอข้อมูลที่เป็นจริง ข้อเท็จจริง
2. หมวกสีแดง ใช้คำถามกระตุ้นให้เกิดการอธิบายความรู้สึกต่อข้อมูล เรื่องราว เหตุการณ์
3. หมวกสีเหลือง ใช้คำถามกระตุ้นให้ค้นหาข้อดี จุดเด่น ของข้อมูล เรื่องราวเหตุการณ์
4. หมวกสีดำ ใช้คำถามที่ระบุสาเหตุของปัญหา ความไม่สมบูรณ์ ความล้มเหลว
5. หมวกสีเขียว ใช้คำถามที่เสนอแนะวิธีการแก้ไข การเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งใหม่ ทางเลือกใหม่
6. หมวกสีฟ้า ใช้คำถามเพื่อการตัดสินใจหรือสรุปข้อมูล เช่นข้อคิด ความรู้ทีได้รับ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( School Based Management : SBM )
ที่มาของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เกิดจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 มาตรา 39 กำหนดให้มีการกระจายอำนาจไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ด้านวิชาการ งบประมาณ งานบริหารบุคคล และงานบริหารทั่วไป
รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก
2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก
3. รูปแบบที่มีชุมชนเป็นหลัก โรงเรียนสังกัด สพฐ. ใช้รูปแบบนี้
4. รูปแบบที่มีครูและชุมชนเป็นหลัก
หลักของการบริหารจัดการโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน
1. หลักการกระจายอำนาจ สำคัญที่สุด
2. หลักการบริหารตนเอง
3. หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. หลักการพัฒนาทั้งระบบ
5. หลักความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้
6. หลัการสร้างแรงจูงใจ
วันนี้พอแค่นี้ก่อนนะ เดี๋ยวคราวหน้าจะมาบอก เกี่ยวกับ SP2 จ้า
วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2552
ห้องเรียนคุณภาพ
วันนี้เรามาศึกษาเกี่ยวกับห้องเรียนคุณภาพ กันนะขอรับ................เผื่อว่าจะนำไปใช้ประโยชน์ในการสอบเกี่ยวกับพลวัตร
ห้องเรียนคุณภาพ
องค์ประกอบของห้องเรียนคุณภาพประกอบด้วย
ครู
1. ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ( BWD )
3. การใช้ ICT เพื่อการสอนและการสนับสนุนการสอน
4. การวิจัยในชั้นเรียน ( CAR )
5. สร้างวินัยเชิงบวก ( Positive Discipline
ผู้บริหารสถานศึกษา
1. ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2. หลักสูตร
3. ICT โรงเรียน
4. การวางแผนพัฒนาตนเอง( ID Plan)
5. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ในระดับครูผู้สอน จะต้องมองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 4 ประการคือ
1. Effective Syllabus : กำหนดหน่วยการเรียนรู้/หลักสูตรระดับรายวิชาที่มีประสิทธิภาพ
2. Effective Lesson Plan : จัดทำแผนการสอน/แผนจัดการเรียนรู้๔ที่มีประสิทธิภาพ
3. Effective Teaching : จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
4. Effective Assessment : วัดและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างวินัยเชิงบวก คือ การปฏิบัติต่อเด็กในฐานะผู้ที่กำลังเรียนรู้โดยปราศจากการใช้ความรุนแรงและเคารพในศักดิ์ศรีเป็นแนวทางในการสอนที่ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จให้ความรู้แก่เด็ก และสนับสนุนการเติบโต
สรุปได้ว่าการสร้างวินัยเชิงบวก คือต้อง ปราศจากความรุนแรง มุ่งที่การแก้ปัญหา เคารพในศักดิ์ศรี และอยู่บนหลักของการพัฒนาเด็ก
หลัก 7 ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก
1. เคารพศักดิ์ศรีของเด็ก
2. พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การมีวินัยในตนเอง และบุคลิกลักษณะที่ดี
3. พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด
4. คำนึงถึงความต้องการทางพัฒนาการและคุณภาพชีวิตของเด็ก
5. คำนึงถึงแรงจูงใจและโลกทัศน์ของเด็ก
6. พยายามให้เกิดความยุติธรรม เท่าเทียมกัน และไม่เลือกปฏิบัติ
7. เสริมสร้างความสามัคคีกลมเกลียวในกลุ่ม
ขั้นตอนของการสร้างวินัยเชิงบวก
1. มีการบรรยายถึงพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น ตอนนี้ครูขอให้ทุกคนเงียบก่อนนะ
2. มีการให้เหตุผลที่ชัดเจน เช่น เราจะเริ่มเรียนคณิตศาสตร์บทใหม่แล้ว ทุกคนต้องตั้งใจฟังนะ ซึ่งหมายความว่าการเงียบโดยเร็วเป็นการเคารพสิทธิผู้อื่น เป็นตัวอย่างของการปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนกับที่เราอยากให้เขาปฏิบัติต่อเรา
3. ขอให้นักเรียนแสดงอาการรับรู้ เช่น เธอเห็นรึยังว่าทำไมการเงียบก่อนเริ่มเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญ แล้วคอยให้นักเรียนแสดงอาการรับรู้และเห็นชอบด้วยก่อนทำอย่างอื่นต่อไป
4. มีการให้รางวัลหรือแสดงความชื่นชมต่อพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น โดยการสบตา พยักหน้า ยิ้มหรือให้เวลาพักเล่นอีกห้านาที การให้คะแนนเพิ่ม ( การได้รับการยอมรับและชื่นชมจากสังคมเป็นรางวัลที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง
การวิจัยในชั้นเรียน ( CAR )
CAR : Classroom Action Research
CAR มีขั้นตอนการปฏิบัติอยู่ 4 ขั้นตอน
CAR1 : การวิเคราะห์ผู้เรียน
CAR2 : การประเมินเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และการสอนของตนเอง
CAR3 : การแก้ปัญหานักเรียน
CAR4 : การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และ ID Plan
การวางแผนพัฒนาตนเอง ( ID Plan )
ID Plan : Individual Development Plan
ID Plan ประกอบไปด้วย 3 ส่วนคือ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ( ทั่วไป )
ส่วนที่ 2 ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่
ส่วนที่ 3 การพัฒนาตนเองตามสมรรถนะ
สมรรถนะ ( Competency ) แบ่งออกเป็น 2 สมรรถนะ
1. สมรรถนะหลัก ได้แก่
1.1 การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
1.2 การบริการที่ดี
1.3 การพัฒนาตนเอง
1.4 การทำงานเป็นทีม
2. สมรรถนะประจำสายงาน ได้แก่
2.1 การวิเคราะห์และสังเคราะห์
2.2 การสื่อสารและการจูงใจ
2.3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
2.4 การมีวิสัยทัศน์
การออกแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค BWD
การออกแบบ BWD มี 3 ขั้นตอน
1. ต้องการให้เด็กเกิดการเรียนรู้อะไร ( เป้าหมาย )
2. เด็กต้องแสดงความสามารถออกมาในลักษณะใด/มีชิ้นงานอะไร
3. จะมีวิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร
ICT : Information Communication Technology
การสร้างเครือข่าย
เครือข่าย ( Network ) หมายถึง การประสานงานรูปแบบหนึ่งที่โยงใยการทำงานของกลุ่มบุคคลหรือองค์กรหลายองค์กร ซึ่งมีทรัพยากร มีเป้าหมาย มีกลุ่มสมาชิกของตนเอง ที่มีความคิด มีปัญหา มีความต้องการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกันหรือคล้ายกัน มาติดต่อประสานงานหรือร่วมกันทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เพื่อแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการในเรื่องนั้นๆโดยยึดหลักการทำงานร่วมกันบนพื้นฐานของความเท่าเทียมกัน เคารพซึ่งกันและกันมากกว่าการเชื่อฟังและปฏิบัติตามผู้มีอำนาจสั่งการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้สนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย กลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา และกลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายคือการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสามารถยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับอำเภอ
ภารกิจงาน
1. ส่งเสริมการพัฒนาครูปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานชาติ
2. ส่งเสริมให้โรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมให้มีพัฒนาการครบทุกด้าน ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคมและสติปัญญา
3. ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์อย่างหลากหลาย
4. ส่งเสริม พัฒนาและให้บริการสื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย
5. ส่งเสริมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยและพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศ การจัดการศึกษาปฐมวัยให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. ส่งเสริมสนับสนุนยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
7. พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาปฐมวัย ให้มีความต่อเนื่องทั่วถึงและมีคุณภาพ
คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัด
1. สถานที่ตั้งกลุ่ม โรงเรียนอนุบาลจังหวัด
2. คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัด
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลจังหวัด
2. รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนผู้เป็นกรรมการตามข้อ 3 ที่ได้รับคัดเลือกกันเอง 2 คน
3. กรรมการ
3.1 ผู้อำนวยการโรงเรียนศูนย์ต้นแบบปฐมวัย
3.2 ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลศูนย์ปฐมวัยประจำอำเภอ
3.3 ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลในจังหวัด เขตละ 1 คน
3.4 หัวหน้ากลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลทุกเขต
4. กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลจังหวัด
คณะกรรมการฯมีหน้าที่
1. กำหนดนโยบายแนวทางการส่งเสริมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2. กำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
3. กำกับ ติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายฯระดับเขตพื้นที่และอำเภอ
4. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายฯระดับเขตพื้นที่และอำเภอ
5. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด
3. ที่ปรึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัด ประกอบด้วย ผุ้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขตในจังหวัด ไม่เกิน 10 คนและผู้ทรงคุณวุฒิ มีบทบาทหน้าที่ดังนี้
1. ให้คำปรึกษา ข้อแนะนำ และเชื่อมโยงนโยบายของ สพฐ. ต่อคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพและศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
2. เสนอแนะการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
3. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบเครือข่ายและร่วมประสานการดำเนินงานพัฒนางานวิชาการ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย เขตพื้นที่การศึกษา
1. สถานที่ตั้งกลุ่ม โรงเรียนอนุบาลของประธานกรรมการ
2. คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย เขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วยคณะกรรมการจำนวน ไม่เกิน 15 คน โดยประธานกรรมการอาจแต่งตั้งรองประธานกรรมการหรือผู้ช่วยเลขานุการได้อีกไม่เกินอย่างละ 2 คน
2.1 ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนปฐมวัยที่ได้รับการคัดเลือก
2.2 รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนปฐมวัยที่ได้รับการคัดเลือก 2 คน
2.3 กรรมการ
2.3.1 ผอ.โรงเรียนศูนย์ปฐมวัยต้นแบบทุกคน
2.3.2 ผอ.โรงเรียนอนุบาลประจำอำเภอทุกอำเภอ
2.3.3 ศึกษานิเทศก์ ปฐมวัย 1 คน
2.3.4 หัวหน้ากลุ่มนิเทศฯของ สทท.
2.4 กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าการศึกษาปฐมวัยของ ร.ร.ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นประธานกรรมการ
คณะกรรมการฯมีหน้าที่
1. กำหนดนโยบายแนวทางการส่งเสริมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2. กำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
3. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายฯระดับเขตพื้นที่
ระดับอำเภอ
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย อำเภอ
1. สถานที่ตั้งกลุ่ม โรงเรียนอนุบาลอำเภอ
2. คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย อำเภอ ประกอบด้วยคณะกรรมการจำนวน ไม่เกิน 15 คน โดยประธานกรรมการอาจแต่งตั้งรองประธานกรรมการหรือผู้ช่วยเลขานุการได้อีกไม่เกินอย่างละ 2 คน
2.1 ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลต้นแบบ
2.2 รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนปฐมวัยที่ได้รับการคัดเลือก ไม่เกิน 2 คน
2.3 กรรมการ
2.3.1 ผอ.โรงเรียนปฐมวัยประจำอำเภอ
2.3.2 ผอ.โรงเรียนปฐมวัยทั่วไป
2.3.3 ศึกษานิเทศก์ ที่รับผิดชอบพื้นที่นิเทศในอำเภอ
2.4 กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าการศึกษาปฐมวัยของ ร.ร.ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นประธานกรรมการ
คณะกรรมการฯมีหน้าที่
1. กำหนดนโยบายแนวทางการส่งเสริมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2. กำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
3. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายฯระดับอำเภอ
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา จังหวัด
คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา จังหวัด
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนประถมที่ได้รับเลือกตั้ง( จากผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดนั้น สำหรับวาระแรกที่เริ่มจัดตั้งให้ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ประธานกรรมการเพื่อการวิจัยและพัฒนารูปแบบก่อนโดยไม่ต้องเลือกตั้ง )
2. รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับการเลือกตั้ง ( ไม่น้อยกว่า 2 คน )
3. กรรมการ
3.1 ผู้บริหารโรงเรียนตัวแทนโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดละ 1 คน จากทุกเขต โดยขนาดของโรงเรียนใช้ใช้เกณฑ์จำนวนนักเรียนเฉพาะชั้นประถมศึกษา ( ช่วงชั้นที่ 1 – 2 ) ในแต่ละโรงเรียนเป็นหลักการกำหนดขนาด กล่าวคือ นักเรียนประถมศึกษา 500 – 1,000 คน จัดเป็นขนาดกลาง ( กรณีที่จังหวัดนั้นมีโรงเรียนไม่ครบทุกขนาดให้อนุโลมพิจารณาจากโรงเรียนที่มีความเหมาะสมแทนขนาดที่ขาดและกรณีที่จังหวัดที่มี 1 เขต ให้มีตัวแทน โรงเรียนขนาดละ 2 คน )
3.2 หัวหน้ากลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล ทุกเขตและตัวแทนครูเขตละ 1 คน ( กรณีจังหวัดที่มี 1 เขต ให้มีตัวแทนครู 2 คน )
4. กรรมการและเลขานุการ
4.1 ผู้บริหารโรงเรียนที่ประธานเลือก กรรมการและเลขานุการ
4.2 รองผู้บริหารสถานศึกษา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
4.3 ศึกษานิเทศก์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
** กรรมการมีวาระคราวละ 2 ปีงบประมาณ ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระแต่งตั้งโดยท่านเลขาธิการ กพฐ.
คณะกรรมการศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้.....................จังหวัด
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือก
2. รองประธานกรรมการ ผอ.โรงเรียนที่เป็นศูนย์ของเขตและไม่ได้อยู่ในเขตของประธานศูนย์ ( ถ้ามี 1 เขต ผอ.โรงเรียน 2 คน )
3. กรรมการ
3.1 รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนที่เป็นประธาน
3.2 หัวหน้ากลุ่มสาระ เขตละ 3 คน
3.3 ตัวแทนศึกษานิเทศก์เขตละ 1 คน ( หรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากเขต )
4. กรรมการและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
5. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ครูในกลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
คณะกรรมการศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้.....................เขตพื้นที่การศึกษา
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือก
2. รองประธานกรรมการ ผอ.โรงเรียนประถมศึกษาในเขต
3. กรรมการ
3.1 รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนที่เป็นประธาน
3.2 หัวหน้ากลุ่มสาระของโรงเรียนในเขตฯที่มีความเหมาะสม
3.3 ตัวแทนศึกษานิเทศก์เขตละ 1 คน ( หรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากเขต )
4. กรรมการและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
5. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ครูในกลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
** คณะกรรมการศูนย์พัฒนา ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ + 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน + ศูนย์พัฒนาการศึกษาพิเศษ + อื่นๆตามความเหมาะสมโดยประธานคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพประถมศึกษาจังหวัด
เป็นอย่างไรบ้างขอรับ อ่านแล้วพอจะเข้าใจบ้างใหม่น้า..........พบกันใหม่....
ห้องเรียนคุณภาพ
องค์ประกอบของห้องเรียนคุณภาพประกอบด้วย
ครู
1. ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ( BWD )
3. การใช้ ICT เพื่อการสอนและการสนับสนุนการสอน
4. การวิจัยในชั้นเรียน ( CAR )
5. สร้างวินัยเชิงบวก ( Positive Discipline
ผู้บริหารสถานศึกษา
1. ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2. หลักสูตร
3. ICT โรงเรียน
4. การวางแผนพัฒนาตนเอง( ID Plan)
5. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ในระดับครูผู้สอน จะต้องมองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ 4 ประการคือ
1. Effective Syllabus : กำหนดหน่วยการเรียนรู้/หลักสูตรระดับรายวิชาที่มีประสิทธิภาพ
2. Effective Lesson Plan : จัดทำแผนการสอน/แผนจัดการเรียนรู้๔ที่มีประสิทธิภาพ
3. Effective Teaching : จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
4. Effective Assessment : วัดและประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ
การสร้างวินัยเชิงบวก
การสร้างวินัยเชิงบวก คือ การปฏิบัติต่อเด็กในฐานะผู้ที่กำลังเรียนรู้โดยปราศจากการใช้ความรุนแรงและเคารพในศักดิ์ศรีเป็นแนวทางในการสอนที่ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จให้ความรู้แก่เด็ก และสนับสนุนการเติบโต
สรุปได้ว่าการสร้างวินัยเชิงบวก คือต้อง ปราศจากความรุนแรง มุ่งที่การแก้ปัญหา เคารพในศักดิ์ศรี และอยู่บนหลักของการพัฒนาเด็ก
หลัก 7 ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก
1. เคารพศักดิ์ศรีของเด็ก
2. พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การมีวินัยในตนเอง และบุคลิกลักษณะที่ดี
3. พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด
4. คำนึงถึงความต้องการทางพัฒนาการและคุณภาพชีวิตของเด็ก
5. คำนึงถึงแรงจูงใจและโลกทัศน์ของเด็ก
6. พยายามให้เกิดความยุติธรรม เท่าเทียมกัน และไม่เลือกปฏิบัติ
7. เสริมสร้างความสามัคคีกลมเกลียวในกลุ่ม
ขั้นตอนของการสร้างวินัยเชิงบวก
1. มีการบรรยายถึงพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น ตอนนี้ครูขอให้ทุกคนเงียบก่อนนะ
2. มีการให้เหตุผลที่ชัดเจน เช่น เราจะเริ่มเรียนคณิตศาสตร์บทใหม่แล้ว ทุกคนต้องตั้งใจฟังนะ ซึ่งหมายความว่าการเงียบโดยเร็วเป็นการเคารพสิทธิผู้อื่น เป็นตัวอย่างของการปฏิบัติต่อผู้อื่นเหมือนกับที่เราอยากให้เขาปฏิบัติต่อเรา
3. ขอให้นักเรียนแสดงอาการรับรู้ เช่น เธอเห็นรึยังว่าทำไมการเงียบก่อนเริ่มเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญ แล้วคอยให้นักเรียนแสดงอาการรับรู้และเห็นชอบด้วยก่อนทำอย่างอื่นต่อไป
4. มีการให้รางวัลหรือแสดงความชื่นชมต่อพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่น โดยการสบตา พยักหน้า ยิ้มหรือให้เวลาพักเล่นอีกห้านาที การให้คะแนนเพิ่ม ( การได้รับการยอมรับและชื่นชมจากสังคมเป็นรางวัลที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง
การวิจัยในชั้นเรียน ( CAR )
CAR : Classroom Action Research
CAR มีขั้นตอนการปฏิบัติอยู่ 4 ขั้นตอน
CAR1 : การวิเคราะห์ผู้เรียน
CAR2 : การประเมินเพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้และการสอนของตนเอง
CAR3 : การแก้ปัญหานักเรียน
CAR4 : การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้และ ID Plan
การวางแผนพัฒนาตนเอง ( ID Plan )
ID Plan : Individual Development Plan
ID Plan ประกอบไปด้วย 3 ส่วนคือ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ( ทั่วไป )
ส่วนที่ 2 ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่
ส่วนที่ 3 การพัฒนาตนเองตามสมรรถนะ
สมรรถนะ ( Competency ) แบ่งออกเป็น 2 สมรรถนะ
1. สมรรถนะหลัก ได้แก่
1.1 การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
1.2 การบริการที่ดี
1.3 การพัฒนาตนเอง
1.4 การทำงานเป็นทีม
2. สมรรถนะประจำสายงาน ได้แก่
2.1 การวิเคราะห์และสังเคราะห์
2.2 การสื่อสารและการจูงใจ
2.3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร
2.4 การมีวิสัยทัศน์
การออกแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค BWD
การออกแบบ BWD มี 3 ขั้นตอน
1. ต้องการให้เด็กเกิดการเรียนรู้อะไร ( เป้าหมาย )
2. เด็กต้องแสดงความสามารถออกมาในลักษณะใด/มีชิ้นงานอะไร
3. จะมีวิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร
ICT : Information Communication Technology
การสร้างเครือข่าย
เครือข่าย ( Network ) หมายถึง การประสานงานรูปแบบหนึ่งที่โยงใยการทำงานของกลุ่มบุคคลหรือองค์กรหลายองค์กร ซึ่งมีทรัพยากร มีเป้าหมาย มีกลุ่มสมาชิกของตนเอง ที่มีความคิด มีปัญหา มีความต้องการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกันหรือคล้ายกัน มาติดต่อประสานงานหรือร่วมกันทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เพื่อแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการในเรื่องนั้นๆโดยยึดหลักการทำงานร่วมกันบนพื้นฐานของความเท่าเทียมกัน เคารพซึ่งกันและกันมากกว่าการเชื่อฟังและปฏิบัติตามผู้มีอำนาจสั่งการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้สนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย กลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา และกลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการมัธยมศึกษา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายคือการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสามารถยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับอำเภอ
ภารกิจงาน
1. ส่งเสริมการพัฒนาครูปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานชาติ
2. ส่งเสริมให้โรงเรียนสามารถพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมให้มีพัฒนาการครบทุกด้าน ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจสังคมและสติปัญญา
3. ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์อย่างหลากหลาย
4. ส่งเสริม พัฒนาและให้บริการสื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย
5. ส่งเสริมการพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยและพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศ การจัดการศึกษาปฐมวัยให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. ส่งเสริมสนับสนุนยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
7. พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลและนิเทศการศึกษาปฐมวัย ให้มีความต่อเนื่องทั่วถึงและมีคุณภาพ
คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัด
1. สถานที่ตั้งกลุ่ม โรงเรียนอนุบาลจังหวัด
2. คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัด
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลจังหวัด
2. รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนผู้เป็นกรรมการตามข้อ 3 ที่ได้รับคัดเลือกกันเอง 2 คน
3. กรรมการ
3.1 ผู้อำนวยการโรงเรียนศูนย์ต้นแบบปฐมวัย
3.2 ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลศูนย์ปฐมวัยประจำอำเภอ
3.3 ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลในจังหวัด เขตละ 1 คน
3.4 หัวหน้ากลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลทุกเขต
4. กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลจังหวัด
คณะกรรมการฯมีหน้าที่
1. กำหนดนโยบายแนวทางการส่งเสริมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2. กำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
3. กำกับ ติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายฯระดับเขตพื้นที่และอำเภอ
4. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายฯระดับเขตพื้นที่และอำเภอ
5. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด
3. ที่ปรึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย จังหวัด ประกอบด้วย ผุ้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกเขตในจังหวัด ไม่เกิน 10 คนและผู้ทรงคุณวุฒิ มีบทบาทหน้าที่ดังนี้
1. ให้คำปรึกษา ข้อแนะนำ และเชื่อมโยงนโยบายของ สพฐ. ต่อคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพและศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
2. เสนอแนะการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
3. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบเครือข่ายและร่วมประสานการดำเนินงานพัฒนางานวิชาการ
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย เขตพื้นที่การศึกษา
1. สถานที่ตั้งกลุ่ม โรงเรียนอนุบาลของประธานกรรมการ
2. คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย เขตพื้นที่การศึกษา ประกอบด้วยคณะกรรมการจำนวน ไม่เกิน 15 คน โดยประธานกรรมการอาจแต่งตั้งรองประธานกรรมการหรือผู้ช่วยเลขานุการได้อีกไม่เกินอย่างละ 2 คน
2.1 ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนปฐมวัยที่ได้รับการคัดเลือก
2.2 รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนปฐมวัยที่ได้รับการคัดเลือก 2 คน
2.3 กรรมการ
2.3.1 ผอ.โรงเรียนศูนย์ปฐมวัยต้นแบบทุกคน
2.3.2 ผอ.โรงเรียนอนุบาลประจำอำเภอทุกอำเภอ
2.3.3 ศึกษานิเทศก์ ปฐมวัย 1 คน
2.3.4 หัวหน้ากลุ่มนิเทศฯของ สทท.
2.4 กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าการศึกษาปฐมวัยของ ร.ร.ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นประธานกรรมการ
คณะกรรมการฯมีหน้าที่
1. กำหนดนโยบายแนวทางการส่งเสริมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2. กำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
3. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายฯระดับเขตพื้นที่
ระดับอำเภอ
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย อำเภอ
1. สถานที่ตั้งกลุ่ม โรงเรียนอนุบาลอำเภอ
2. คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย อำเภอ ประกอบด้วยคณะกรรมการจำนวน ไม่เกิน 15 คน โดยประธานกรรมการอาจแต่งตั้งรองประธานกรรมการหรือผู้ช่วยเลขานุการได้อีกไม่เกินอย่างละ 2 คน
2.1 ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลต้นแบบ
2.2 รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนปฐมวัยที่ได้รับการคัดเลือก ไม่เกิน 2 คน
2.3 กรรมการ
2.3.1 ผอ.โรงเรียนปฐมวัยประจำอำเภอ
2.3.2 ผอ.โรงเรียนปฐมวัยทั่วไป
2.3.3 ศึกษานิเทศก์ ที่รับผิดชอบพื้นที่นิเทศในอำเภอ
2.4 กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าการศึกษาปฐมวัยของ ร.ร.ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นประธานกรรมการ
คณะกรรมการฯมีหน้าที่
1. กำหนดนโยบายแนวทางการส่งเสริมงานวิชาการและพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
2. กำกับติดตามการดำเนินงานของกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาปฐมวัย
3. ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายฯระดับอำเภอ
กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา จังหวัด
คณะกรรมการบริหารกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการประถมศึกษา จังหวัด
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนประถมที่ได้รับเลือกตั้ง( จากผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดนั้น สำหรับวาระแรกที่เริ่มจัดตั้งให้ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ประธานกรรมการเพื่อการวิจัยและพัฒนารูปแบบก่อนโดยไม่ต้องเลือกตั้ง )
2. รองประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนประถมศึกษาที่ได้รับการเลือกตั้ง ( ไม่น้อยกว่า 2 คน )
3. กรรมการ
3.1 ผู้บริหารโรงเรียนตัวแทนโรงเรียนขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ขนาดละ 1 คน จากทุกเขต โดยขนาดของโรงเรียนใช้ใช้เกณฑ์จำนวนนักเรียนเฉพาะชั้นประถมศึกษา ( ช่วงชั้นที่ 1 – 2 ) ในแต่ละโรงเรียนเป็นหลักการกำหนดขนาด กล่าวคือ นักเรียนประถมศึกษา 500 – 1,000 คน จัดเป็นขนาดกลาง ( กรณีที่จังหวัดนั้นมีโรงเรียนไม่ครบทุกขนาดให้อนุโลมพิจารณาจากโรงเรียนที่มีความเหมาะสมแทนขนาดที่ขาดและกรณีที่จังหวัดที่มี 1 เขต ให้มีตัวแทน โรงเรียนขนาดละ 2 คน )
3.2 หัวหน้ากลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล ทุกเขตและตัวแทนครูเขตละ 1 คน ( กรณีจังหวัดที่มี 1 เขต ให้มีตัวแทนครู 2 คน )
4. กรรมการและเลขานุการ
4.1 ผู้บริหารโรงเรียนที่ประธานเลือก กรรมการและเลขานุการ
4.2 รองผู้บริหารสถานศึกษา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
4.3 ศึกษานิเทศก์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
** กรรมการมีวาระคราวละ 2 ปีงบประมาณ ติดต่อกันไม่เกิน 2 วาระแต่งตั้งโดยท่านเลขาธิการ กพฐ.
คณะกรรมการศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้.....................จังหวัด
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือก
2. รองประธานกรรมการ ผอ.โรงเรียนที่เป็นศูนย์ของเขตและไม่ได้อยู่ในเขตของประธานศูนย์ ( ถ้ามี 1 เขต ผอ.โรงเรียน 2 คน )
3. กรรมการ
3.1 รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนที่เป็นประธาน
3.2 หัวหน้ากลุ่มสาระ เขตละ 3 คน
3.3 ตัวแทนศึกษานิเทศก์เขตละ 1 คน ( หรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากเขต )
4. กรรมการและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
5. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ครูในกลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
คณะกรรมการศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้.....................เขตพื้นที่การศึกษา
ประกอบด้วย
1. ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือก
2. รองประธานกรรมการ ผอ.โรงเรียนประถมศึกษาในเขต
3. กรรมการ
3.1 รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการของโรงเรียนที่เป็นประธาน
3.2 หัวหน้ากลุ่มสาระของโรงเรียนในเขตฯที่มีความเหมาะสม
3.3 ตัวแทนศึกษานิเทศก์เขตละ 1 คน ( หรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากเขต )
4. กรรมการและเลขานุการ หัวหน้ากลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
5. กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ครูในกลุ่มสาระของโรงเรียนที่เป็นประธาน
** คณะกรรมการศูนย์พัฒนา ประกอบด้วย 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ + 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน + ศูนย์พัฒนาการศึกษาพิเศษ + อื่นๆตามความเหมาะสมโดยประธานคณะกรรมการกลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพประถมศึกษาจังหวัด
เป็นอย่างไรบ้างขอรับ อ่านแล้วพอจะเข้าใจบ้างใหม่น้า..........พบกันใหม่....
ศักดิ์ของกฎหมายและเศรษฐกิจพอเพียง
ครูสุโขทัย ขอนำความรอบรู้ทั่วไป...ให้ทุกท่านได้อ่านเผื่อว่าจะเป็นประโยชน์เกี่ยวกับพลวัตรต่างๆจ้า...........
รัฐธรรมนูญ คือกฎหมายสูงสุดของประเทศ ซึ่งกำหนดรูปแบบและหลักการในการจัดระเบียบการปกครอง การใช้อำนาจของผู้ปกครอง การสืบต่ออำนาจ ขอบเขตหน้าที่และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
การบัญญัติกฎหมาย
กฎหมายคือ ข้อบังคับของรัฐที่กำหนดความประพฤติของคนในสังคม
พระราชบัญญัติ คือกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาและอนุมัติ โดยรัฐสภาหรือองค์กรที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการประกาศใช้ และเมื่อประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาแล้วก็ถือว่ามีผลบังคับใช้โดยสมบูรณ์
พระราชกำหนด คือกฏหมายที่พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของฝ่ายบริหารตราขึ้นใช้บังคับตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี ในทางปฏิบัติ พระราชกำหนดก็คือกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี พระราชกำหนดจะออกได้ก็ต่อเมื่อเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ของสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
พระราชกฤษฏีกา คือกฎหมายลำดับรองที่พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของฝ่ายบริหารทรงตราขึ้นใช้บังคับตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี ซึ่งในทางพฤตินัย พระราชกฤษฏีกาก็คือกฎหมายแม่บทภายในขอบเขตที่กฏหมายแม่บทได้ให้อำนาจไว้ พระราชกฤษฏีกาจะมีผลบังคับใช้เมื่อมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว โดยไม่ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากสภาไม่ว่าก่อนหรือหลังการประกาศใช้
ศักดิ์ของกฎหมาย ( Hierarchy of Low ) โดยมีลำดับชั้นจากสูงสุดไปต่ำสุด ดังนี้คือ
1. รัฐธรรมนูญ
2. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด
3. พระราชกฤษฏีกา
4. กฎกระทรวง
5. ข้อบัญญัติหรือข้อบังคับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวพระราชดำริ
การดำเนินงานตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการดำเนินงานที่มุ่งพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรทั่วไป โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา โดยมีโครงการต่างๆมากมาย
1. โครงการตามพระราชประสงค์ หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษา หารือกับผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์สาขาต่างๆทรงแสวงหาวิธีทดลอง ปฏิบัติ ทรงพัฒนาส่งเสริมและแก้ไขดัดแปลงวิธีการ ในช่วงระยะหนึ่งเพื่อพัฒนาดูแลผลผลิตทั้งในและนอกพระราชฐาน
2. โครงการหลวง เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาชาวไทยภูเขาให้รอดพ้นจากความทุกข์ยากลำเค็ญได้ด้วยวิธีการปลูกพืชทดแทนฝิ่น และให้ละเลิกการตัดไม้ทำลายป่า มาสู่วิถีเกษตรรูปแบบใหม่ที่ทำให้มีรายได้ยิ่งขึ้น
3. โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อแนะนำแนวพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญาและกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน
4. โครงการตามพระราชดำริ หมายถึงโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จพระราชดำเนินร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลในแนวทางปัจจุบันเรียกว่า โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ( Sufficiency Economy )
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวทางการดำรงชีวิตของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน ถึงระดับประเทศ โดยเน้นการดำเนินชีวิตในทางสายกลาง
ความหมายของคำว่าพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดีพอต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัฒน์
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง 2 เงื่อนไข
3 ห่วง
1. ความพอประมาณ ความพอดีที่ไม่น้อยและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
2. ความมีเหตุผล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุมีผล
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
2 เงื่อนไข
1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการที่เกี่ยวข้อง ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา
2. เงื่อนไขคุณธรรม ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และความอดทนมีความเพียรใช้สติปัญญา
ศูนย์การศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีจำนวน 6 แห่ง ได้แก่
1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีงานหลักคือ ทำการค้นคว้าทดลองและสาธิตเกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินที่เสื่อมโทรมให้กลับฟื้นค้นสภาพและใช้ทำมาหากินได้
2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ จังหวัดเพชรบุรี ทำการศึกษาพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศบริเวณชายฝั่งและการประมง
3. ศูนย์การศึกษาพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จังหวัดจันทบุรี ทำการศึกษาการพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศบริเวณชายฝั่งและการประมง
4. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯจังหวัดเชียงใหม่ ศึกษาพัฒนาและค้นคว้าวิจัยเรื่องป่าไม้เสื่อมโทรม และการพัฒนาพื้นที่ต้นนำลำธารเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรมและการสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พื้นผิวดิน
5. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ จังหวัดนราธิวาส ทำการศึกษาวิจัยดินพรุในภาคใต้เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้
6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯจังหวัดสกลนคร ศึกษาพัฒนาการอาชีพทั้งทางเกษตรกรรมอุตสาหกรรมในครัวเรือนและการพัฒนาหมู่บ้านตัวอย่าง
ตอนนี้เจออะไร ก็นำมาให้หมด อ่านให้หมด จำให้ได้ก็แล้วกันนะขอรับ..........ขอบคุณที่เข้ามาอ่าน...ขอบคุณที่แสดงความคิดเห็น..........
รัฐธรรมนูญ คือกฎหมายสูงสุดของประเทศ ซึ่งกำหนดรูปแบบและหลักการในการจัดระเบียบการปกครอง การใช้อำนาจของผู้ปกครอง การสืบต่ออำนาจ ขอบเขตหน้าที่และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
การบัญญัติกฎหมาย
กฎหมายคือ ข้อบังคับของรัฐที่กำหนดความประพฤติของคนในสังคม
พระราชบัญญัติ คือกฎหมายที่ผ่านการพิจารณาและอนุมัติ โดยรัฐสภาหรือองค์กรที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการประกาศใช้ และเมื่อประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาแล้วก็ถือว่ามีผลบังคับใช้โดยสมบูรณ์
พระราชกำหนด คือกฏหมายที่พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของฝ่ายบริหารตราขึ้นใช้บังคับตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี ในทางปฏิบัติ พระราชกำหนดก็คือกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหารหรือคณะรัฐมนตรี พระราชกำหนดจะออกได้ก็ต่อเมื่อเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ของสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจ ป้องกันภัยพิบัติสาธารณะ
พระราชกฤษฏีกา คือกฎหมายลำดับรองที่พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของฝ่ายบริหารทรงตราขึ้นใช้บังคับตามคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี ซึ่งในทางพฤตินัย พระราชกฤษฏีกาก็คือกฎหมายแม่บทภายในขอบเขตที่กฏหมายแม่บทได้ให้อำนาจไว้ พระราชกฤษฏีกาจะมีผลบังคับใช้เมื่อมีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว โดยไม่ผ่านการพิจารณาอนุมัติจากสภาไม่ว่าก่อนหรือหลังการประกาศใช้
ศักดิ์ของกฎหมาย ( Hierarchy of Low ) โดยมีลำดับชั้นจากสูงสุดไปต่ำสุด ดังนี้คือ
1. รัฐธรรมนูญ
2. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด
3. พระราชกฤษฏีกา
4. กฎกระทรวง
5. ข้อบัญญัติหรือข้อบังคับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวพระราชดำริ
การดำเนินงานตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการดำเนินงานที่มุ่งพัฒนาและช่วยเหลือพสกนิกรทั่วไป โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา โดยมีโครงการต่างๆมากมาย
1. โครงการตามพระราชประสงค์ หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษา หารือกับผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์สาขาต่างๆทรงแสวงหาวิธีทดลอง ปฏิบัติ ทรงพัฒนาส่งเสริมและแก้ไขดัดแปลงวิธีการ ในช่วงระยะหนึ่งเพื่อพัฒนาดูแลผลผลิตทั้งในและนอกพระราชฐาน
2. โครงการหลวง เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาชาวไทยภูเขาให้รอดพ้นจากความทุกข์ยากลำเค็ญได้ด้วยวิธีการปลูกพืชทดแทนฝิ่น และให้ละเลิกการตัดไม้ทำลายป่า มาสู่วิถีเกษตรรูปแบบใหม่ที่ทำให้มีรายได้ยิ่งขึ้น
3. โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อแนะนำแนวพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญาและกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน
4. โครงการตามพระราชดำริ หมายถึงโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จพระราชดำเนินร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลในแนวทางปัจจุบันเรียกว่า โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง ( Sufficiency Economy )
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้แนวทางการดำรงชีวิตของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน ถึงระดับประเทศ โดยเน้นการดำเนินชีวิตในทางสายกลาง
ความหมายของคำว่าพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดีพอต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัฒน์
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง 2 เงื่อนไข
3 ห่วง
1. ความพอประมาณ ความพอดีที่ไม่น้อยและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
2. ความมีเหตุผล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุมีผล
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
2 เงื่อนไข
1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการที่เกี่ยวข้อง ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา
2. เงื่อนไขคุณธรรม ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และความอดทนมีความเพียรใช้สติปัญญา
ศูนย์การศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีจำนวน 6 แห่ง ได้แก่
1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีงานหลักคือ ทำการค้นคว้าทดลองและสาธิตเกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินที่เสื่อมโทรมให้กลับฟื้นค้นสภาพและใช้ทำมาหากินได้
2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ จังหวัดเพชรบุรี ทำการศึกษาพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศบริเวณชายฝั่งและการประมง
3. ศูนย์การศึกษาพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ จังหวัดจันทบุรี ทำการศึกษาการพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศบริเวณชายฝั่งและการประมง
4. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯจังหวัดเชียงใหม่ ศึกษาพัฒนาและค้นคว้าวิจัยเรื่องป่าไม้เสื่อมโทรม และการพัฒนาพื้นที่ต้นนำลำธารเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรมและการสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พื้นผิวดิน
5. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯ จังหวัดนราธิวาส ทำการศึกษาวิจัยดินพรุในภาคใต้เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้
6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานฯจังหวัดสกลนคร ศึกษาพัฒนาการอาชีพทั้งทางเกษตรกรรมอุตสาหกรรมในครัวเรือนและการพัฒนาหมู่บ้านตัวอย่าง
ตอนนี้เจออะไร ก็นำมาให้หมด อ่านให้หมด จำให้ได้ก็แล้วกันนะขอรับ..........ขอบคุณที่เข้ามาอ่าน...ขอบคุณที่แสดงความคิดเห็น..........
วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
หายหน้า หายตา ไปนานหน่อยนะขอรับ เนื่องจากต้องอบรมสัมมนาหลักสูตรพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาทั่วประเทศ เและกำลังจะไปเป็นวิทยากรอบรมลูกเสือ ในงานชุมนุมลูกเสือ สร้างสามัคคี ส่งเสริมคนดีสู่สังคม จึงต้องรีบนำความรู้มาให้.........กลัวว่าจะได้ไม่ครบ
กระทรวงศึกษาธิการ
นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฐ์ ได้กำหนดเป้าหมายในการปฏิรูปการศึกษารอบสอง คือ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยเริ่มขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552-2561 โดยมุ่งเน้น 3 เรื่องหลัก เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมคือ
1. เรื่องคุณภาพ เป็นการสร้างคุณภาพใหม่ให้เกิดขึ้นในด้านต่างๆดังนี้
1.1 คุณภาพครู
1.2 คุณภาพแหล่งเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกระบบ
1.3 คุณภาพของสถานศึกษา ควรมีแหล่งเรียนรู้เช่นห้องสมุด อุทยานประวัติศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์
1.4 คุณภาพการบริหารจัดการ เน้นการกระจายอำนาจและธรรมาภิบาล
2. เรื่องโอกาส การเปิดโอกาสให้คนไทยทุกกลุ่ม ทุกประเภท ได้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพเช่นผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ เด็กชายขอบตะเข็บชายแดน ฯลฯ
3. เรื่องการมีส่วนร่วม มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการสนับสนุนการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
นโยบายและจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา
1. นโยบายด้านการศึกษา
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551 ในด้านการศึกษา ดังนี้
1. ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญและระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตรวิชาแกนกลางรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียนเป็นสำนักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ตลอดถึงการส่งเสริมการกระจายอำนาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อนำไปสู่เป้าหมายคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นคุณธรรมนำความรู้อย่างแท้จริง
2. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นในระดับอาชีวะศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
3. พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครูให้นักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครู ด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดตั้งกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครูควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เน้นการพัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า
4. จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญา และชนต่างวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
5. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ โดยการจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพ ปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผู้สำเร็จอาชีวะให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างของการใช้ทักษะอาชีวะศึกษาเป็นเกณฑ์กำหนดค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงานควบคู่กับการพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม ด้วยการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา
6. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้มีการประนอมการไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาอาชีวศึกษาและปริญญาตรีเพิ่มขึ้น
7. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
8. เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐาน บูรณาการทุกมิติ และยึดเกณฑ์การประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นหลักในการยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และส่งเสริมความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาและวิจัยพัฒนาในภูมิภาครวมทั้งเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรุ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตในชุมชน โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษาและสถานบันทางศาสนา
2. นโยบายปฏิรูปการศึกษารอบสอง
2.1 สภาการศึกษาได้ข้อสรุปปฏิรูปการศึกษารอบสอง
นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมสภาการศึกษาว่าที่ประชุมได้สรุปกรอบปฏิรูปการศึกษารอบสอง โดยกำหนดเป้าหมายที่จะทำให้คนไทยทุกคนได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ในทุกระดับการศึกษาและทุกมิติตั้งแต่การศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย และส่วนอื่นๆที่เหลืออย่างครบวงจร โดยได้มุ่งเน้นใน 3 ประเด็นหลักที่จะทำให้เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ประสบความสำเร็จ คือ
1. คุณภาพ ซึ่งได้แก่การพัฒนาคุณภาพครู ส่วนคุณภาพของแหล่งเรียนรู้และการสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ หมายถึงคุณภาพของสถานศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบและคุณภาพของแหล่งเรียนรู้อื่นๆสำหรับการศึกษานอกระบบ เช่น ห้องสมุด อุทยานประวัติศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์หรือแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบอื่นๆ รวมทั้งการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ ในเรื่องการบริหารจัดการให้มีคุณภาพมากขึ้น ให้มีธรรมาภิบาลและเกิดการกระจายอำนาจไปสู่พื้นที่และสถานศึกษาอย่างทั่วถึง
2. การสร้างโอกาส ที่จะทำให้คนไทยทุกประเภท ทั้งผู้พิการ ด้อยโอกาสและคนชายขอบกลุ่มอื่นๆเข้าถึงการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนาและสถาบันอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
นอกจากนี้ เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษารอบสอง เดินทางไปสู่เป้าหมายจะมีการตั้งคณะกรรมการขึ้น 2 ระดับ คือ คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษา มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน และให้ไปจัดตั้งกลไกอื่นตามความจำเป็น อาทิ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ สถาบันคุรุศึกษา และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ โดยกำหนดกรอบที่ดำเนินการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ตั้งแต่ปี 2552 – 2561 ทั้งนี้จะนำเรื่องนี้เสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวอีกว่า ที่ผ่านมาการปฏิรูปการศึกษาในรอบแรกเน้นเรื่องของการปรับโครงสร้างและการจัดการศึกษาในระบบเท่านั้น แต่การปฏิรูปรอบสองจะเน้นเรื่องของคุณภาพ โอกาส และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ ซึ่งเป็นการเติมเต็มการปฏิรูปการศึกษาในรอบแรก
2.2 ทิศทางการปฏิรูปการศึกษารอบสอง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้เสนอแนวทางการปฏิรูปการศึกษารอบสองไว้ 9 ประเด็น
1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา/ผู้เรียน
2. การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
3. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาและการมีส่วนร่วม
4. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
5. การผลิตและพัฒนากำลังคน
6. การเงินเพื่อการศึกษา
7. เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
8. กฎหมายการศึกษา
9. การเรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการปฏิรูปรอบสอง โดยมีความสอดคล้องกับข้อเสนอของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาที่เสนอไว้คือ
1. ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้นักเรียนและโรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานทุกระดับ ส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อนำผลมาใช้ปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานการศึกษารวมทั้งการพัฒนาทางวิชาการ เช่น การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากลุ่มสาระต่างๆ เพื่อให้ครูและนักเรียนเข้าถึงองค์ความรู้ได้ง่ายและสะดวก ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งในการสร้างคุณภาพการศึกษาได้
2. ด้านโอกาสทางการศึกษา ดำเนินการส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฟรี 15 ปี ตามนโยบายของรัฐบาล โดยส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับลักษณะและบริบทของสถานศึกษา รวมทั้งการเปิดโอกาส เพื่อให้สามารถรองรับการบริหารจัดการ ตามนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยมีความเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ก.ค.ศ. สค.บศ. สถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาคเอกชน และต่างประเทศ ส่งเสริมให้มีการจัดทำแผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นรายบุคคล ( ID Plan ) และให้มีการพัฒนาที่ตรงตามความต้องการของหน่วยงานและบุคคล เพื่อให้การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างแท้จริง
4. ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อให้มีความสอดค้องกับการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ดำเนินการวิเคราะห์ระบบการบริหารจัดการทั้งระบบตั้งแต่ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปรับปรุงส่วนที่ไม่เข้มแข็ง แก้ไข และจัดระบบให้มีความเข้มแข็งเหมาะสมกับการจัดการศึกษาในทุกระดับทั้งการจัดหน่วยงานให้มีความเหมาะสมกับภารกิจองค์กร การพัฒนาระบบการบริหารจัดการการกำหนดขอบเขตบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหรืองค์คณะบุคคล เป็นต้น เพื่อให้การบริหารจัดการและการจัดโครงสร้างองค์กรเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. นโยบายจุดเน้นสำคัญ
3.1 นโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ
ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 49 ได้บัญญัติว่า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 มาตรา 10 วรรค 1 บัญญัติว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ได้กำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการตามเจตนารมณ์ดังกล่าวในปีแรก โดยกำหนดไว้ในข้อ 1.3 โดยสนับสนุนตำราในวิชาหลักให้แก่ทุกสถานศึกษา จัดให้มีชุดนักเรียนและอุปกรณ์การเรียนฟรีให้ทันปีการศึกษา 2552 และสนับสนุนค่าใช้จ่ายอื่นๆเพื่อชดเชยรายการต่างๆที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากผู้ปกครอง อีกทั้งนโยบายของรัฐด้านการศึกษา ข้อ 3.1.4 กำหนดว่าจัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายพร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญาและชนต่างวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สำหรับรายการหนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนนุ
เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ ได้ให้ค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าหนังสือเรียน
2. ค่าอุปกรณ์การเรียน
3. ค่าเครื่องแบบนักเรียน
4. ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
3.2 นโยบาย 3 D
นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ชี้แจ้งการปฏิรูปการศึกษารองสองเน้นให้เด็กไทยเป็นคนเก่ง ดี มีสุขและภูมิใจในความเป็นไทย ที่วิทยาลัยชุมชนพังงา เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2552 พร้อมแนะแนวปฏิบัติตามนโยบาย 3 D
1. Democracy คือประชาธิปไตย ต้องการให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตย
2. Decency คือคุณธรรม จริยธรรม รู้ผิดชอบ ชั่วดี
3. Drug คือยาเสพติด เด็กต้องห่างไกลยาเสพติด
เป็นอย่างไรบ้างครับ พยายามอ่านและทำความเข้าใจหน่อยนะ เพราะเร่งรีบในการสรุปให้จริงๆ แล้ววันพรุ่งนี้เจอกัน ......เหนื่อย....ง่วง....แล้วจ้า
กระทรวงศึกษาธิการ
นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฐ์ ได้กำหนดเป้าหมายในการปฏิรูปการศึกษารอบสอง คือ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยเริ่มขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552-2561 โดยมุ่งเน้น 3 เรื่องหลัก เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมคือ
1. เรื่องคุณภาพ เป็นการสร้างคุณภาพใหม่ให้เกิดขึ้นในด้านต่างๆดังนี้
1.1 คุณภาพครู
1.2 คุณภาพแหล่งเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ทั้งในและนอกระบบ
1.3 คุณภาพของสถานศึกษา ควรมีแหล่งเรียนรู้เช่นห้องสมุด อุทยานประวัติศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์
1.4 คุณภาพการบริหารจัดการ เน้นการกระจายอำนาจและธรรมาภิบาล
2. เรื่องโอกาส การเปิดโอกาสให้คนไทยทุกกลุ่ม ทุกประเภท ได้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพเช่นผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ เด็กชายขอบตะเข็บชายแดน ฯลฯ
3. เรื่องการมีส่วนร่วม มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการสนับสนุนการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
นโยบายและจุดเน้นการปฏิรูปการศึกษา
1. นโยบายด้านการศึกษา
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีแถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551 ในด้านการศึกษา ดังนี้
1. ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ โดยปฏิรูปโครงสร้างและการบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญและระดมทรัพยากรเพื่อการปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตรวิชาแกนกลางรวมถึงวิชาประวัติศาสตร์ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียนเป็นสำนักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดให้มีศูนย์การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ตลอดถึงการส่งเสริมการกระจายอำนาจให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อนำไปสู่เป้าหมายคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นคุณธรรมนำความรู้อย่างแท้จริง
2. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ โดยมุ่งเน้นในระดับอาชีวะศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อให้สนองตอบความต้องการด้านบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
3. พัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ได้ครูดี ครูเก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการเรียนการสอนตามโครงการคืนครูให้นักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครู ด้วยการปรับโครงสร้างหนี้และจัดตั้งกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครูควบคู่ไปกับการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เน้นการพัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรให้พร้อมรองรับและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างคุ้มค่า
4. จัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรในกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญา และชนต่างวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
5. ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวะศึกษาและอุดมศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ โดยการจัดกลุ่มสถาบันการศึกษาตามศักยภาพ ปรับเงินเดือนค่าตอบแทนของผู้สำเร็จอาชีวะให้สูงขึ้น โดยภาครัฐเป็นผู้นำและเป็นแบบอย่างของการใช้ทักษะอาชีวะศึกษาเป็นเกณฑ์กำหนดค่าตอบแทนและความก้าวหน้าในงานควบคู่กับการพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม ด้วยการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา
6. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ให้มีการประนอมการไกล่เกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาเพิ่มขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาอาชีวศึกษาและปริญญาตรีเพิ่มขึ้น
7. ส่งเสริมให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
8. เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและเรียนรู้อย่างมีบูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน โดยใช้พื้นที่และโรงเรียนเป็นฐาน บูรณาการทุกมิติ และยึดเกณฑ์การประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาเป็นหลักในการยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และส่งเสริมความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยไปสู่การเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาและวิจัยพัฒนาในภูมิภาครวมทั้งเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรุ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตในชุมชน โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษาและสถานบันทางศาสนา
2. นโยบายปฏิรูปการศึกษารอบสอง
2.1 สภาการศึกษาได้ข้อสรุปปฏิรูปการศึกษารอบสอง
นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยภายหลังการประชุมสภาการศึกษาว่าที่ประชุมได้สรุปกรอบปฏิรูปการศึกษารอบสอง โดยกำหนดเป้าหมายที่จะทำให้คนไทยทุกคนได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ในทุกระดับการศึกษาและทุกมิติตั้งแต่การศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย และส่วนอื่นๆที่เหลืออย่างครบวงจร โดยได้มุ่งเน้นใน 3 ประเด็นหลักที่จะทำให้เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ประสบความสำเร็จ คือ
1. คุณภาพ ซึ่งได้แก่การพัฒนาคุณภาพครู ส่วนคุณภาพของแหล่งเรียนรู้และการสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ หมายถึงคุณภาพของสถานศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบและคุณภาพของแหล่งเรียนรู้อื่นๆสำหรับการศึกษานอกระบบ เช่น ห้องสมุด อุทยานประวัติศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์หรือแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบอื่นๆ รวมทั้งการส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ ในเรื่องการบริหารจัดการให้มีคุณภาพมากขึ้น ให้มีธรรมาภิบาลและเกิดการกระจายอำนาจไปสู่พื้นที่และสถานศึกษาอย่างทั่วถึง
2. การสร้างโอกาส ที่จะทำให้คนไทยทุกประเภท ทั้งผู้พิการ ด้อยโอกาสและคนชายขอบกลุ่มอื่นๆเข้าถึงการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนาและสถาบันอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
นอกจากนี้ เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษารอบสอง เดินทางไปสู่เป้าหมายจะมีการตั้งคณะกรรมการขึ้น 2 ระดับ คือ คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษา มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน และให้ไปจัดตั้งกลไกอื่นตามความจำเป็น อาทิ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ สถาบันคุรุศึกษา และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ โดยกำหนดกรอบที่ดำเนินการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ตั้งแต่ปี 2552 – 2561 ทั้งนี้จะนำเรื่องนี้เสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวอีกว่า ที่ผ่านมาการปฏิรูปการศึกษาในรอบแรกเน้นเรื่องของการปรับโครงสร้างและการจัดการศึกษาในระบบเท่านั้น แต่การปฏิรูปรอบสองจะเน้นเรื่องของคุณภาพ โอกาส และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ ซึ่งเป็นการเติมเต็มการปฏิรูปการศึกษาในรอบแรก
2.2 ทิศทางการปฏิรูปการศึกษารอบสอง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้เสนอแนวทางการปฏิรูปการศึกษารอบสองไว้ 9 ประเด็น
1. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา/ผู้เรียน
2. การผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
3. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษาและการมีส่วนร่วม
4. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
5. การผลิตและพัฒนากำลังคน
6. การเงินเพื่อการศึกษา
7. เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
8. กฎหมายการศึกษา
9. การเรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อวิเคราะห์และจัดทำแนวทางการปฏิรูปรอบสอง โดยมีความสอดคล้องกับข้อเสนอของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาที่เสนอไว้คือ
1. ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้นักเรียนและโรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานทุกระดับ ส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อนำผลมาใช้ปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานการศึกษารวมทั้งการพัฒนาทางวิชาการ เช่น การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากลุ่มสาระต่างๆ เพื่อให้ครูและนักเรียนเข้าถึงองค์ความรู้ได้ง่ายและสะดวก ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งในการสร้างคุณภาพการศึกษาได้
2. ด้านโอกาสทางการศึกษา ดำเนินการส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฟรี 15 ปี ตามนโยบายของรัฐบาล โดยส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับลักษณะและบริบทของสถานศึกษา รวมทั้งการเปิดโอกาส เพื่อให้สามารถรองรับการบริหารจัดการ ตามนโยบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยมีความเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ก.ค.ศ. สค.บศ. สถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาคเอกชน และต่างประเทศ ส่งเสริมให้มีการจัดทำแผนพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นรายบุคคล ( ID Plan ) และให้มีการพัฒนาที่ตรงตามความต้องการของหน่วยงานและบุคคล เพื่อให้การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างแท้จริง
4. ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อให้มีความสอดค้องกับการปฏิรูปการศึกษารอบสอง ดำเนินการวิเคราะห์ระบบการบริหารจัดการทั้งระบบตั้งแต่ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อปรับปรุงส่วนที่ไม่เข้มแข็ง แก้ไข และจัดระบบให้มีความเข้มแข็งเหมาะสมกับการจัดการศึกษาในทุกระดับทั้งการจัดหน่วยงานให้มีความเหมาะสมกับภารกิจองค์กร การพัฒนาระบบการบริหารจัดการการกำหนดขอบเขตบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหรืองค์คณะบุคคล เป็นต้น เพื่อให้การบริหารจัดการและการจัดโครงสร้างองค์กรเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. นโยบายจุดเน้นสำคัญ
3.1 นโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ
ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 49 ได้บัญญัติว่า บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 มาตรา 10 วรรค 1 บัญญัติว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นข้อกำหนดที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ได้กำหนดเป็นนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการตามเจตนารมณ์ดังกล่าวในปีแรก โดยกำหนดไว้ในข้อ 1.3 โดยสนับสนุนตำราในวิชาหลักให้แก่ทุกสถานศึกษา จัดให้มีชุดนักเรียนและอุปกรณ์การเรียนฟรีให้ทันปีการศึกษา 2552 และสนับสนุนค่าใช้จ่ายอื่นๆเพื่อชดเชยรายการต่างๆที่สถานศึกษาเรียกเก็บจากผู้ปกครอง อีกทั้งนโยบายของรัฐด้านการศึกษา ข้อ 3.1.4 กำหนดว่าจัดให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี ตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายพร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เกิดความเสมอภาคและความเป็นธรรมในโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ทั้งผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ผู้บกพร่องทางร่างกายและสติปัญญาและชนต่างวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สำหรับรายการหนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ภาครัฐให้การสนับสนนุ
เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ ได้ให้ค่าใช้จ่ายดังนี้
1. ค่าหนังสือเรียน
2. ค่าอุปกรณ์การเรียน
3. ค่าเครื่องแบบนักเรียน
4. ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
3.2 นโยบาย 3 D
นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ชี้แจ้งการปฏิรูปการศึกษารองสองเน้นให้เด็กไทยเป็นคนเก่ง ดี มีสุขและภูมิใจในความเป็นไทย ที่วิทยาลัยชุมชนพังงา เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2552 พร้อมแนะแนวปฏิบัติตามนโยบาย 3 D
1. Democracy คือประชาธิปไตย ต้องการให้เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตย
2. Decency คือคุณธรรม จริยธรรม รู้ผิดชอบ ชั่วดี
3. Drug คือยาเสพติด เด็กต้องห่างไกลยาเสพติด
เป็นอย่างไรบ้างครับ พยายามอ่านและทำความเข้าใจหน่อยนะ เพราะเร่งรีบในการสรุปให้จริงๆ แล้ววันพรุ่งนี้เจอกัน ......เหนื่อย....ง่วง....แล้วจ้า
วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2552
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ/สพฐ.
ตอนแรกว่าจะมาวันพรุ่งนี้ แต่หายไปหลายวันเลยส่งมาให้ที่ละเยอะเลยละกัน.....เป็นอย่างไรบ้างครับพี่น้อง........อ่านแล้วเข้าใจกับบ้างหรือเปล่า ช่วงนี้กำลังเวิร์ค เลยส่งมาให้อ่านกันเยอะๆหน่อย ดีมั้ย....ดีหรือไม่ดียังไงก็พยายามอ่านกันหน่อยละ.....
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กระทรวงศึกษาธิการ
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนำความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างสังคมคุณธรรม พัฒนาสังคมฐานความรู้ และยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
พันธกิจ
1. สร้างเสริมโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชน
2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3. การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน
4. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคงของรัฐ
5. การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกฎหมายด้านการศึกษา
6. การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและวิจัยเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลและสิ่งเสริมสุขภาพ
7. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี
เป้าประสงค์
1. คนไทยทุกกลุ่ม ทุกวัย ได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง
2. ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐานและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3. คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ
4. ประชาชนและชุมชนในพื้นที่ชายแดนภาคใต้มีโอกาสได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
5. ระบบบริหารงานมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักธรรมาภิบาล เป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ
6. มาตรฐานการศึกษาและวิจัยเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพได้รับการพัฒนา
7. ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการเผยแพร่หรือนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นองค์กรหลักในการจัดและส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึง และมีเศรษฐกิจพอเพียง และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
พันธกิจ
เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรวัยเรียนทุกคน ให้ได้รับการพัฒนาเป็นบุคคลที่มีความรู้และคุณลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
เป้าหมายการให้บริการ
ด้านโอกาสทางการศึกษา
1. ประชากรในวัยเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียม ทั่วถึงและได้รับโอกาสในการศึกษาปฐมวัยอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนในระดับการศึกษาภาคบังคับ
2. ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้เรียนในเขตพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาปฐมวัยอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงตามลักษณะของผู้เรียนและกลุ่มและประเภท
3. ผู้เรียน ในเขตพื้นที่พิเศษและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับอัตลักษณ์ วิถีชีวิตและความต้องการของชุมชน
ด้านคุณภาพการเรียน
1. ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัย
2. ครูผู้สอนมีเพียงพอและสามารถจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน
3. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในและผ่านการประเมินการศึกษาของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( สมศ.)
ด้านประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาตลอดจนองค์คณะบุคคลตามกฎหมายมีความพร้อม และมีความเข้มแข็งที่จะปฏิบัติหน้าที่ตามหลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยใช้เครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วน
กลยุทธ์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักเรียนทุกคน
2. เพิ่มอัตราการเข้าเรียนในทุกระดับ ทั้งเด็กทั่วไป ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ลดอัตราการออกกลางคันและพัฒนารูปแบบการให้บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่เยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา
3. ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของชาติ พัฒนาผู้เรียน สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัยและการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
4. เร่งรัดพัฒนาความพร้อมในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาในสังกัดเพื่อการเรียนรู้และการบริหารจัดการ
5. สร้างความเข้มเข็งและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อรองรับการกระจายอำนาจอย่างมีประสิทธิภาพบนหลักธรรมาภิบาลในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
6. เร่งพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจชายแดนภาคใต้
ยังเหลือของสำนักงานเขตนะครับพี่น้อง.......ไปอ่านหน่อยนะเขตใครก็เขตมันเด้อ......ส่วนของ สพท.สท.2 จะมาวันพรุ่งนี้จ้า........
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กระทรวงศึกษาธิการ
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณธรรมนำความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างสังคมคุณธรรม พัฒนาสังคมฐานความรู้ และยืนหยัดในเวทีโลกบนพื้นฐานของความเป็นไทย
พันธกิจ
1. สร้างเสริมโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชน
2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์
1. การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
3. การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศโดยใช้ความรู้เป็นฐาน
4. การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมั่นคงของรัฐ
5. การพัฒนาระบบบริหารจัดการและกฎหมายด้านการศึกษา
6. การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาและวิจัยเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลและสิ่งเสริมสุขภาพ
7. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี
เป้าประสงค์
1. คนไทยทุกกลุ่ม ทุกวัย ได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง
2. ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐานและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3. คนไทยได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพและเสริมสร้างการแข่งขันของประเทศ
4. ประชาชนและชุมชนในพื้นที่ชายแดนภาคใต้มีโอกาสได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
5. ระบบบริหารงานมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลักธรรมาภิบาล เป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ
6. มาตรฐานการศึกษาและวิจัยเพื่อให้บริการรักษาพยาบาลและส่งเสริมสุขภาพได้รับการพัฒนา
7. ผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้รับการเผยแพร่หรือนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นองค์กรหลักในการจัดและส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึง และมีเศรษฐกิจพอเพียง และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
พันธกิจ
เพิ่มโอกาสทางการศึกษาแก่ประชากรวัยเรียนทุกคน ให้ได้รับการพัฒนาเป็นบุคคลที่มีความรู้และคุณลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยระบบการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
เป้าหมายการให้บริการ
ด้านโอกาสทางการศึกษา
1. ประชากรในวัยเรียนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียม ทั่วถึงและได้รับโอกาสในการศึกษาปฐมวัยอย่างน้อย 1 ปี ก่อนเข้าเรียนในระดับการศึกษาภาคบังคับ
2. ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้เรียนในเขตพื้นที่พิเศษได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาปฐมวัยอย่างเท่าเทียมและทั่วถึงตามลักษณะของผู้เรียนและกลุ่มและประเภท
3. ผู้เรียน ในเขตพื้นที่พิเศษและเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับอัตลักษณ์ วิถีชีวิตและความต้องการของชุมชน
ด้านคุณภาพการเรียน
1. ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัย
2. ครูผู้สอนมีเพียงพอและสามารถจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ความสำคัญกับพื้นฐานและศักยภาพของผู้เรียน
3. สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในและผ่านการประเมินการศึกษาของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ( สมศ.)
ด้านประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาตลอดจนองค์คณะบุคคลตามกฎหมายมีความพร้อม และมีความเข้มแข็งที่จะปฏิบัติหน้าที่ตามหลักธรรมาภิบาลอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดยใช้เครือข่ายความร่วมมือทุกภาคส่วน
กลยุทธ์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่นักเรียนทุกคน
2. เพิ่มอัตราการเข้าเรียนในทุกระดับ ทั้งเด็กทั่วไป ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ลดอัตราการออกกลางคันและพัฒนารูปแบบการให้บริการการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่เยาวชนที่อยู่นอกระบบการศึกษา
3. ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของชาติ พัฒนาผู้เรียน สมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและปฐมวัยและการเรียนรู้ของหลักสูตรการศึกษาอย่างเต็มตามศักยภาพ
4. เร่งรัดพัฒนาความพร้อมในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาในสังกัดเพื่อการเรียนรู้และการบริหารจัดการ
5. สร้างความเข้มเข็งและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อรองรับการกระจายอำนาจอย่างมีประสิทธิภาพบนหลักธรรมาภิบาลในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
6. เร่งพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิตนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจชายแดนภาคใต้
ยังเหลือของสำนักงานเขตนะครับพี่น้อง.......ไปอ่านหน่อยนะเขตใครก็เขตมันเด้อ......ส่วนของ สพท.สท.2 จะมาวันพรุ่งนี้จ้า........
สรุปแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554(ต่อ)
มาสรุปแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554 กันต่อเลยนะขอรับต้องเร่งส่งต้นฉบับให้พี่น้องเราก่อนเดี๋ยวอ่านกันไม่ทัน
1.2 การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน
1.2.1 ร่วมมือกับภาคเอกชนในการดำเนินมาตรการชะลอการเลิกจ้างและป้องกันการขยายตัวของการเลิกจ้าง
1.2.2 ดำเนินมาตรการเร่งด่วนเฉพาะหน้า เพื่อรองรับปัญหาแรงงานว่างงานจากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม่
- แรงงานที่ว่างงานถูกเลิกจ้างและนักศึกษาจบใหม่ ประมาณ 500,000 คน ในปี 2552 ได้รับการฝึกอบรมเสริมทักษะสร้างศักยภาพและโอกาสให้กลับไปทำงานที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นชุมชนในภูมิลำเนา
1.2.3 เร่งรัดดำเนินการช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ถูกเลิกจ้างและผู้ว่างงานอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจ
1.2.4 สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุ
- เพิ่มรายได้ให้กับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้ให้มีหลักประกันด้านรายได้อย่างทั่วถึงเป็นธรรม
- สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ หรือไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่แสดงความจำนงโดยการขอขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับการสงเคราะห์รวมทั้งขยายเพดานให้กู้ยืมจากกองทุนผู้สูงอายุเป็น 30,000 บาท
1.2.5 เพิ่มมาตรการด้านการคลัง
1.2.6 สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานมาก
1.2.7 ดำเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรผ่านกลไกและเป็นเครื่องมือของรัฐให้มีประสิทธิภาพ และเร่งสร้างระบบประกันความเสี่ยงทางการเกษตร
1.2.8 เร่งรัดและพัฒนาตลาดและระบบการกระจายสินค้าของสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน
- จัดหาตลาดรองรับสินค้าเกษตรชุมชนเชื่อมโยงตลาดในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชุมชน อำเภอ จังหวัด ประเทศ และดำเนินการในลักษณะนำร่องก่อน เน้นสินค้าที่มีคุณภาพสำหรับตลาดเฉพาะ ( Niche Market ) รวมทั้งบริหารจัดการสินค้าเกษตรอย่างเป็นระบบ โดยเน้นสินค้าอาหารและสินค้าคุณภาพ
1.2.9 จัดตั้งสภาเกษตรกรแห่งชาติ
1.2.10 ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม.)ทั่วประเทศให้ปฏิบัติงานเชิงรุก
1.3 การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน
1.3.1 ให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี
- ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานฟรีตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและสายอาชีพครอบคลุมตำราเรียนในวิชาหลัก ชุดนักเรียน อุปกรณ์การเรียน และค่าใช้จ่ายจำเป็นอื่นๆเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของประชาชน
1.3.2 กำกับดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการที่มีความจำเป็นต่อการครองชีพ
1.3.3 ดำเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชน
- ภาครัฐรับภาระค่าใช้จ่ายรถโดยสารธรรมดา รถไฟชั้น 3 ค่าน้ำประปา และค่าไฟฟ้าตามความจำเป็นขั้นพื้นฐานของประชาชน
- ปรับปรุงและขยายระยะเวลาการดำเนินมาตรการ 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน
1.3.4 ใช้กองทุนน้ำมันในการรักษาเสถียรภาพของราคาน้ำมันอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3.5 จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ และคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ ( กรอ.)
นโยบายที่ 2 ความมั่นคงของรัฐ
2.1 ปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
2.2 เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศให้มีความพร้อมในการรักษาเอกราช อธิปไตยและบูรณาการแห่งดินแดน
2.3 เสริมสร้างสันติภาพของการอยู่ร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน
2.4 แก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบไม่ให้มีผลกระทบต่อความมั่นคง
2.5 เสริมสร้างศักยภาพในการจัดการกับปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ
นโยบายที่ 3 สังคมและคุณภาพชีวิต
1. ด้านการศึกษา
- ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษา 15 ปีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสูงขึ้นอีกร้อยละ 20 ใน 3 ปี
- สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อสายสามัญ เป็น 50 : 50
- สัดส่วนของผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสายสังคมเป็น 40 : 60
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาโดยการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมการสร้างนักวิจัยมืออาชีพและสนับสนุนการดำเนินการวิจัยในลักษณะ Research Program ในประเด็นสำคัญๆของประเทศ
3.3 นโยบายด้านสาธารณสุข
- ลดอัตราการเพิ่มการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 5 โรค ได้แก่ โรคหัวใจ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง
3.4 นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
3.5 นโยบายสวัสดิการสังคม แ ละความมั่นคงของมนุษย์
3.6 นโยบายการกีฬาและนันทนาการ
- เด็กและเยาวชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และร่วมกิจกรรมนันทนาการเป็นประจำ
- นักกีฬาปกติและผู้พิการ ได้ร่วมแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 และจำนวนเหรียญรางวัลเพิ่มขึ้นในทุกระดับ
- พัฒนาและนำวิทยาศาสตร์การกีฬามาใช้อย่างจริงจังในการส่งเสริมกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพให้แก่นักกีฬาปกติและผู้พิการ รวมทั้งเตรียมความพร้อมนักกีฬาไทยสู่โอลิมปิค ปี 2010
นโยบายที่ 4 เศรษฐกิจ
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เศรษฐกิจของประเทศมีการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและมั่นคง โดยการดำเนินนโยบายการเงินการคลังที่สอดประสานกันเพื่อให้เศรษฐกิจฟื้นตัวจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินโลกที่กำลังประสบอยู่ขณะนี้
4.1 นโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาค
- อัตราส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไม่เกินร้อยละ 50 ของ GDP
- รักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 ในช่วงปี 2552 – 2554
4.2 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
4.2.1 ภาคเกษตร
- มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 1.35 ล้านล้านบาท ในปี 2554
- เกษตรกรไม่ต่ำกว่า 1.6 ล้านราย ได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
- บริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทานไม่น้อยกว่า 1.7 ล้านไร่
- พัฒนา ฟื้นฟูและอนุรักษ์ดินและที่ดินไม่ต่ำกว่า 4.4 ล้านไร่
- พัฒนาระบบการผลิตและคุณภาพของผลผลิต โดยพัฒนาปรับปรุงระบบคุณภาพทั้งพืช ปศุสัตว์ และประมง ( GAP GMP HACCP ) ให้ได้ผลผลิตที่ได้มาตรฐานสากล
4.2.2 ภาคอุตสาหกรรม
- มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมเพิ่มจาก 3.3 ล้านล้านบาท เป็น 3.5 ล้านล้านบาท
- จำนวนผู้ประกอบการรายใหม่เพิ่มขึ้นและจำนวนผู้ประกอบการเดิมที่ได้รับการพัฒนามีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 13,000 รายต่อปี
- ผลิตภาพแรงงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสาขาเป้าหมายสูงขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
- ส่งเสริมให้อุตสาหกรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคมตามแนวทาง ISO 26000
4.2.3 ภาคการท่องเที่ยวและบริการ
- ภาพลักษณ์ประเทศไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก ด้านความมีน้ำใจ ( Friendly People)/ความเป็นดั้งเดิม ( Authenticity ) / ชายหาด ( Beach )
4.2.4 นโยบายการตลาด การค้า และการลงทุน
4.3 นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
4.4 นโยบายพลังงาน
- สัดส่วนการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศไม่เกินร้อยละ 35 ในปี 2554
- สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนไม่น้อยกว่าร้อยละ 12 ของการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้ายในปี 2554
- นโยบายด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ
- ส่งเสริมกลไกการพัฒนาที่สะอาด ( CDM ) สาขาพลังงาน เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
4.5 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- จำนวนเลขหมายโทรศัพท์พื้นฐานต่อประชากร 100คน เพิ่มขึ้นจาก 11 เป็น 13.7 เลขหมาย
- จำนวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วเพิ่มขึ้นจาก 2 ล้าน รายเป็น 4 ล้านราย
- จำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นจาก 78 เป็น 90 เลขหมาย
- ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้งานระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45
- จำนวนชุมชน ไม่น้อยกว่า 800 แห่งมีศูนย์การเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- ติดตั้งโทรศัพท์สาธารณะประจำหมู่บ้านจำนวนไม่น้อยกว่า 1,300 เลขหมาย
- กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึง ICT และนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ในการเรียนรู้และประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
- บุคลากรด้าน ICT ได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
- บุคลากรภาครัฐไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สามารถเข้าถึงและนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการทำงานและการเรียนรู้
- ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ICT ในชีวิตประจำวัน
- อัตราการเติบโตอุตสาหกรรมดิจิตอลคอนเท้นส์เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ต่อปี
นโยบายที่ 5 ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.1 คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเลอย่างเป็นระบบ
- พัฒนาฟื้นฟูและอนุรักษ์ดิน 60 ล้านไร่
5.2 คุ้มครองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ที่มีความสำคัญเชิงระบบนิเวศ เพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
5.3 จัดให้มีระบบการป้องกัน รวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ
5.4 ควบคุมและลดปริมาณของเสียที่กลายมาเป็นมลพิษทั้งในรูปขยะ ขยะอันตรายมลพิษทางอากาศ กลิ่นเสียง และน้ำเสีย
5.5 พัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.6 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์
นโยบายที่ 6 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
6.1 ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการวิจัยตามแนวพระราชดำริ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งงานวิจัยขั้นพื้นฐาน และงานวิจัยประยุกต์
- จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตรไม่น้อยกว่า 450 เรื่อง
6.2 เร่งรัดผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและบุคลากรด้านการวิจัยให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิต
- บุคลากรวิจัยและพัฒนา 10 คนต่อประชากร 10,000 คน
6.3 ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนาของประเทศ
นโยบายที่ 7 การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
นโยบายที่ 8 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
8.1 ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน
- ประชากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการและการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- หน่วยงานของรัฐไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถยกระดับคุณภาพ มาตรฐานและธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการได้ตามเป้าหมาย
- บุคลากรภาครัฐไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีความเป็นมืออาชีพ มีความรู้คู่คุณธรรม
จบแล้วขอรับสำหรับแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 แล้ววันพรุ่งนี้มาอ่านเรื่องต่อไปกันนะ
1.2 การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน
1.2.1 ร่วมมือกับภาคเอกชนในการดำเนินมาตรการชะลอการเลิกจ้างและป้องกันการขยายตัวของการเลิกจ้าง
1.2.2 ดำเนินมาตรการเร่งด่วนเฉพาะหน้า เพื่อรองรับปัญหาแรงงานว่างงานจากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม่
- แรงงานที่ว่างงานถูกเลิกจ้างและนักศึกษาจบใหม่ ประมาณ 500,000 คน ในปี 2552 ได้รับการฝึกอบรมเสริมทักษะสร้างศักยภาพและโอกาสให้กลับไปทำงานที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นชุมชนในภูมิลำเนา
1.2.3 เร่งรัดดำเนินการช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของผู้ถูกเลิกจ้างและผู้ว่างงานอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจ
1.2.4 สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุ
- เพิ่มรายได้ให้กับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้ให้มีหลักประกันด้านรายได้อย่างทั่วถึงเป็นธรรม
- สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้ไม่เพียงพอแก่การยังชีพ หรือไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพแก่ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปที่แสดงความจำนงโดยการขอขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับการสงเคราะห์รวมทั้งขยายเพดานให้กู้ยืมจากกองทุนผู้สูงอายุเป็น 30,000 บาท
1.2.5 เพิ่มมาตรการด้านการคลัง
1.2.6 สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานมาก
1.2.7 ดำเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรผ่านกลไกและเป็นเครื่องมือของรัฐให้มีประสิทธิภาพ และเร่งสร้างระบบประกันความเสี่ยงทางการเกษตร
1.2.8 เร่งรัดและพัฒนาตลาดและระบบการกระจายสินค้าของสินค้าเกษตรและสินค้าชุมชน
- จัดหาตลาดรองรับสินค้าเกษตรชุมชนเชื่อมโยงตลาดในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชุมชน อำเภอ จังหวัด ประเทศ และดำเนินการในลักษณะนำร่องก่อน เน้นสินค้าที่มีคุณภาพสำหรับตลาดเฉพาะ ( Niche Market ) รวมทั้งบริหารจัดการสินค้าเกษตรอย่างเป็นระบบ โดยเน้นสินค้าอาหารและสินค้าคุณภาพ
1.2.9 จัดตั้งสภาเกษตรกรแห่งชาติ
1.2.10 ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน ( อสม.)ทั่วประเทศให้ปฏิบัติงานเชิงรุก
1.3 การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน
1.3.1 ให้ทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาฟรี 15 ปี
- ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานฟรีตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญและสายอาชีพครอบคลุมตำราเรียนในวิชาหลัก ชุดนักเรียน อุปกรณ์การเรียน และค่าใช้จ่ายจำเป็นอื่นๆเพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของประชาชน
1.3.2 กำกับดูแลราคาสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการที่มีความจำเป็นต่อการครองชีพ
1.3.3 ดำเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชน
- ภาครัฐรับภาระค่าใช้จ่ายรถโดยสารธรรมดา รถไฟชั้น 3 ค่าน้ำประปา และค่าไฟฟ้าตามความจำเป็นขั้นพื้นฐานของประชาชน
- ปรับปรุงและขยายระยะเวลาการดำเนินมาตรการ 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤตเพื่อคนไทยทุกคน
1.3.4 ใช้กองทุนน้ำมันในการรักษาเสถียรภาพของราคาน้ำมันอย่างมีประสิทธิภาพ
1.3.5 จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ และคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ ( กรอ.)
นโยบายที่ 2 ความมั่นคงของรัฐ
2.1 ปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
2.2 เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศให้มีความพร้อมในการรักษาเอกราช อธิปไตยและบูรณาการแห่งดินแดน
2.3 เสริมสร้างสันติภาพของการอยู่ร่วมกันกับประเทศเพื่อนบ้าน
2.4 แก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบไม่ให้มีผลกระทบต่อความมั่นคง
2.5 เสริมสร้างศักยภาพในการจัดการกับปัญหาภัยคุกคามข้ามชาติ
นโยบายที่ 3 สังคมและคุณภาพชีวิต
1. ด้านการศึกษา
- ประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษา 15 ปีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสูงขึ้นอีกร้อยละ 20 ใน 3 ปี
- สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาต่อสายสามัญ เป็น 50 : 50
- สัดส่วนของผู้เรียนสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อสายสังคมเป็น 40 : 60
- พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาโดยการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม มุ่งเน้นการเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา ส่งเสริมการสร้างนักวิจัยมืออาชีพและสนับสนุนการดำเนินการวิจัยในลักษณะ Research Program ในประเด็นสำคัญๆของประเทศ
3.3 นโยบายด้านสาธารณสุข
- ลดอัตราการเพิ่มการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 5 โรค ได้แก่ โรคหัวใจ เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง
3.4 นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
3.5 นโยบายสวัสดิการสังคม แ ละความมั่นคงของมนุษย์
3.6 นโยบายการกีฬาและนันทนาการ
- เด็กและเยาวชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ออกกำลังกาย เล่นกีฬา และร่วมกิจกรรมนันทนาการเป็นประจำ
- นักกีฬาปกติและผู้พิการ ได้ร่วมแข่งขันกีฬาระดับนานาชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 และจำนวนเหรียญรางวัลเพิ่มขึ้นในทุกระดับ
- พัฒนาและนำวิทยาศาสตร์การกีฬามาใช้อย่างจริงจังในการส่งเสริมกีฬาสู่ความเป็นเลิศและกีฬาอาชีพให้แก่นักกีฬาปกติและผู้พิการ รวมทั้งเตรียมความพร้อมนักกีฬาไทยสู่โอลิมปิค ปี 2010
นโยบายที่ 4 เศรษฐกิจ
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เศรษฐกิจของประเทศมีการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและมั่นคง โดยการดำเนินนโยบายการเงินการคลังที่สอดประสานกันเพื่อให้เศรษฐกิจฟื้นตัวจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจและการเงินโลกที่กำลังประสบอยู่ขณะนี้
4.1 นโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาค
- อัตราส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศไม่เกินร้อยละ 50 ของ GDP
- รักษาระดับการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 ในช่วงปี 2552 – 2554
4.2 นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ
4.2.1 ภาคเกษตร
- มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตรเพิ่มขึ้นเป็น 1.35 ล้านล้านบาท ในปี 2554
- เกษตรกรไม่ต่ำกว่า 1.6 ล้านราย ได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง
- บริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทานไม่น้อยกว่า 1.7 ล้านไร่
- พัฒนา ฟื้นฟูและอนุรักษ์ดินและที่ดินไม่ต่ำกว่า 4.4 ล้านไร่
- พัฒนาระบบการผลิตและคุณภาพของผลผลิต โดยพัฒนาปรับปรุงระบบคุณภาพทั้งพืช ปศุสัตว์ และประมง ( GAP GMP HACCP ) ให้ได้ผลผลิตที่ได้มาตรฐานสากล
4.2.2 ภาคอุตสาหกรรม
- มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคอุตสาหกรรมเพิ่มจาก 3.3 ล้านล้านบาท เป็น 3.5 ล้านล้านบาท
- จำนวนผู้ประกอบการรายใหม่เพิ่มขึ้นและจำนวนผู้ประกอบการเดิมที่ได้รับการพัฒนามีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 13,000 รายต่อปี
- ผลิตภาพแรงงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสาขาเป้าหมายสูงขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
- ส่งเสริมให้อุตสาหกรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคมตามแนวทาง ISO 26000
4.2.3 ภาคการท่องเที่ยวและบริการ
- ภาพลักษณ์ประเทศไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก ด้านความมีน้ำใจ ( Friendly People)/ความเป็นดั้งเดิม ( Authenticity ) / ชายหาด ( Beach )
4.2.4 นโยบายการตลาด การค้า และการลงทุน
4.3 นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
4.4 นโยบายพลังงาน
- สัดส่วนการพึ่งพาการนำเข้าน้ำมันจากต่างประเทศไม่เกินร้อยละ 35 ในปี 2554
- สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนไม่น้อยกว่าร้อยละ 12 ของการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้ายในปี 2554
- นโยบายด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ
- ส่งเสริมกลไกการพัฒนาที่สะอาด ( CDM ) สาขาพลังงาน เพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
4.5 นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- จำนวนเลขหมายโทรศัพท์พื้นฐานต่อประชากร 100คน เพิ่มขึ้นจาก 11 เป็น 13.7 เลขหมาย
- จำนวนผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วเพิ่มขึ้นจาก 2 ล้าน รายเป็น 4 ล้านราย
- จำนวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 100 คน เพิ่มขึ้นจาก 78 เป็น 90 เลขหมาย
- ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้งานระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45
- จำนวนชุมชน ไม่น้อยกว่า 800 แห่งมีศูนย์การเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- ติดตั้งโทรศัพท์สาธารณะประจำหมู่บ้านจำนวนไม่น้อยกว่า 1,300 เลขหมาย
- กลุ่มผู้ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึง ICT และนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการเรียนรู้ในการเรียนรู้และประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
- บุคลากรด้าน ICT ได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
- บุคลากรภาครัฐไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สามารถเข้าถึงและนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการทำงานและการเรียนรู้
- ประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก ICT ในชีวิตประจำวัน
- อัตราการเติบโตอุตสาหกรรมดิจิตอลคอนเท้นส์เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ต่อปี
นโยบายที่ 5 ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.1 คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเลอย่างเป็นระบบ
- พัฒนาฟื้นฟูและอนุรักษ์ดิน 60 ล้านไร่
5.2 คุ้มครองและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ที่มีความสำคัญเชิงระบบนิเวศ เพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
5.3 จัดให้มีระบบการป้องกัน รวมทั้งเตือนภัยและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ
5.4 ควบคุมและลดปริมาณของเสียที่กลายมาเป็นมลพิษทั้งในรูปขยะ ขยะอันตรายมลพิษทางอากาศ กลิ่นเสียง และน้ำเสีย
5.5 พัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5.6 ปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์
นโยบายที่ 6 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
6.1 ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการวิจัยตามแนวพระราชดำริ การวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งงานวิจัยขั้นพื้นฐาน และงานวิจัยประยุกต์
- จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตรไม่น้อยกว่า 450 เรื่อง
6.2 เร่งรัดผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและบุคลากรด้านการวิจัยให้สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิต
- บุคลากรวิจัยและพัฒนา 10 คนต่อประชากร 10,000 คน
6.3 ปฏิรูประบบการวิจัยและพัฒนาของประเทศ
นโยบายที่ 7 การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
นโยบายที่ 8 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
8.1 ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผ่นดิน
- ประชากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในคุณภาพการให้บริการและการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- หน่วยงานของรัฐไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สามารถยกระดับคุณภาพ มาตรฐานและธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการได้ตามเป้าหมาย
- บุคลากรภาครัฐไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีความเป็นมืออาชีพ มีความรู้คู่คุณธรรม
จบแล้วขอรับสำหรับแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ.2552-2554 แล้ววันพรุ่งนี้มาอ่านเรื่องต่อไปกันนะ
สรุปแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554
มาแล้วครับ.....หายไปนานเลยเนื่องจากติดภารกิจต่างๆมากมาย....แต่วันนี้มาพร้อมกับสรุปเตรียมสอบภาคบ่ายของ การสอบภาค ข เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาเริ่มเลยนะ.....
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554
การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล มีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ในสังคมไทย นำประเทศให้ผ่านพ้นผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจของโลกและพัฒนาไปสู่การเจริญเติบโตที่ยั่งยืนซึ่งจะนำความอยู่ดีมีสุขมาสู่ประชาชน
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน เกิดจาก มาตรา 76 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 และมาตรา 13 ,14 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ซึ่งกำหนดให้รัฐบาลจะต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินให้สอดคล้องกับกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554 ของรัฐบาลยึดเจตนารมย์ของคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่ได้แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 ตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554 มีเนื้อหาสาระสำคัญประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1. แสดงแนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ วิสัยทัศน์ของรัฐบาล และกรอบการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล
ส่วนที่ 2. แสดงแนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดของนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก ( ปี2552 ) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน และแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินที่จะดำเนินการในปี 2552 – 2554
ส่วนที่ 3. แสดงกลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ อันประกอบด้วยการมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณสนับสนุนตามนโยบาย ( ประมาณการรายได้และประมาณการความต้องการใช้เงินตามนโยบาย ) และแนวทางการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
ส่วนที่ 4. แสดงแผนงาน/โครงการที่มีลำดับความสำคัญตามนโยบายรัฐบาลทั้งที่ต้องเร่งดำเนินการในปี 2552 และที่จะดำเนินการในช่วงปี 2552 – 2554
ส่วนที่ 1
วิสัยทัศน์ของรัฐบาล
ในช่วงปี พ.ศ.2552 – 2554 รัฐบาลจะมุ่งมั่นนำประเทศไทยให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกและพัฒนาไปสู่การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน แก้ไขวิกฤตทางสังคมที่มีความแตกแยกและพัฒนาให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมืองและปฏิรูปการเมืองให้มีความมั่นคงตามแนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ทั้งนี้รัฐบาลจะดำเนินการให้บรรลุภารกิจดังกล่าวภายใต้แนวทางพื้นฐานหลัก 4 ประการ
1. ปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีความมั่นคงในการเป็นศูนย์รวมจิตใจและความรัก สามัคคีของคนในชาติ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้เหนือความขัดแย้งทุกรูปแบบ พร้อมทั้งดำเนินการทุกวิถีทางอย่างจริงจังเพื่อป้องกันมิให้มีการล่วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ
2. สร้างความปรองดองสมานฉันท์ บนพื้นฐานของความถูกต้อง ยุติธรรมและการยอมรับของทุกภาคส่วน
3. ฟื้นฟูเศรษฐกิจ ให้ขยายตัวอย่างยั่งยืนและบรรเทาผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจที่ประชาชนจะประสบ
4. พัฒนาประชาธิปไตยและระบบการเมือง ให้มีความมั่นคงมีการปฏิบัติตามกฎหมาย และบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาค เป็นธรรมและเป็นที่ยอมรับของสากล
นโยบายรัฐบาล
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
2. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
3. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
4. นโยบายเศรษฐกิจ
5. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม
7. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ
8. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายที่ 1 นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
1.1 การสร้างความเชื่อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค
1.1.1 เสริมสร้างความสมานฉันท์และความสามัคคีของคนในชาติ
1.1.2 จัดให้มีสำนักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นองค์กรถาวร
1.1.3 ปฏิรูปการเมือง
1.1.4 เร่งสร้างความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก
1.1.5 ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน
- มูลค่าการลงทุนรวมที่ขอรับส่งเสริมการลงทุนในปี 2552-2554 จำนวน 1,250,000 ล้านบาท
- ลดการสูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ให้ต่ำมากเกินไปจากปี 2550
- รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลงจากปี 2550 ไม่เกินร้อยละ 5 และรายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากปี 2551 ร้อยละ 5
1.1.6 เร่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติและเร่งรัดมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว
- รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติลดลงจากปี 2550 ไม่เกินร้อยละ 5
- รายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากปี 2551 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5
- สร้างกระแสการเดินทางตลาดต่างประเทศและภายในประเทศเพื่อส่งเสริมให้ปี 2552 เป็นปีแห่งการท่องเที่ยวไทย ประทับใจไทยแลนด์
1.1.7 เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ
- คนไทยทุกกลุ่ม ทุกวัย ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีการเรียนรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนตลอดชีวิต มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ และเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศในการเป็นศูนย์กลางการศึกษาฝึกอบรม การวิจัยและพัฒนาในระดับภูมิภาค
- จำนวนสถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554
การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล มีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างความปรองดอง สมานฉันท์ในสังคมไทย นำประเทศให้ผ่านพ้นผลกระทบวิกฤตเศรษฐกิจของโลกและพัฒนาไปสู่การเจริญเติบโตที่ยั่งยืนซึ่งจะนำความอยู่ดีมีสุขมาสู่ประชาชน
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน เกิดจาก มาตรา 76 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 และมาตรา 13 ,14 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ซึ่งกำหนดให้รัฐบาลจะต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินให้สอดคล้องกับกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554 ของรัฐบาลยึดเจตนารมย์ของคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่ได้แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 ตลอดจนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554 มีเนื้อหาสาระสำคัญประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่
ส่วนที่ 1. แสดงแนวคิดและทิศทางการบริหารประเทศ วิสัยทัศน์ของรัฐบาล และกรอบการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล
ส่วนที่ 2. แสดงแนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดของนโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก ( ปี2552 ) เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม การรักษาและเพิ่มรายได้ของประชาชน การลดภาระค่าครองชีพของประชาชน และแนวทางการบริหารราชการแผ่นดินที่จะดำเนินการในปี 2552 – 2554
ส่วนที่ 3. แสดงกลไกการนำแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ อันประกอบด้วยการมอบหมายหน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณสนับสนุนตามนโยบาย ( ประมาณการรายได้และประมาณการความต้องการใช้เงินตามนโยบาย ) และแนวทางการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
ส่วนที่ 4. แสดงแผนงาน/โครงการที่มีลำดับความสำคัญตามนโยบายรัฐบาลทั้งที่ต้องเร่งดำเนินการในปี 2552 และที่จะดำเนินการในช่วงปี 2552 – 2554
ส่วนที่ 1
วิสัยทัศน์ของรัฐบาล
ในช่วงปี พ.ศ.2552 – 2554 รัฐบาลจะมุ่งมั่นนำประเทศไทยให้รอดพ้นจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกและพัฒนาไปสู่การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน แก้ไขวิกฤตทางสังคมที่มีความแตกแยกและพัฒนาให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมืองและปฏิรูปการเมืองให้มีความมั่นคงตามแนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ทั้งนี้รัฐบาลจะดำเนินการให้บรรลุภารกิจดังกล่าวภายใต้แนวทางพื้นฐานหลัก 4 ประการ
1. ปกป้องและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีความมั่นคงในการเป็นศูนย์รวมจิตใจและความรัก สามัคคีของคนในชาติ และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้เหนือความขัดแย้งทุกรูปแบบ พร้อมทั้งดำเนินการทุกวิถีทางอย่างจริงจังเพื่อป้องกันมิให้มีการล่วงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ
2. สร้างความปรองดองสมานฉันท์ บนพื้นฐานของความถูกต้อง ยุติธรรมและการยอมรับของทุกภาคส่วน
3. ฟื้นฟูเศรษฐกิจ ให้ขยายตัวอย่างยั่งยืนและบรรเทาผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจที่ประชาชนจะประสบ
4. พัฒนาประชาธิปไตยและระบบการเมือง ให้มีความมั่นคงมีการปฏิบัติตามกฎหมาย และบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาค เป็นธรรมและเป็นที่ยอมรับของสากล
นโยบายรัฐบาล
1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
2. นโยบายความมั่นคงของรัฐ
3. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
4. นโยบายเศรษฐกิจ
5. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม
7. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ
8. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
นโยบายที่ 1 นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
1.1 การสร้างความเชื่อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค
1.1.1 เสริมสร้างความสมานฉันท์และความสามัคคีของคนในชาติ
1.1.2 จัดให้มีสำนักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นองค์กรถาวร
1.1.3 ปฏิรูปการเมือง
1.1.4 เร่งสร้างความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตาของชาวโลก
1.1.5 ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน
- มูลค่าการลงทุนรวมที่ขอรับส่งเสริมการลงทุนในปี 2552-2554 จำนวน 1,250,000 ล้านบาท
- ลดการสูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ให้ต่ำมากเกินไปจากปี 2550
- รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติลดลงจากปี 2550 ไม่เกินร้อยละ 5 และรายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากปี 2551 ร้อยละ 5
1.1.6 เร่งสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักท่องเที่ยวต่างชาติและเร่งรัดมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว
- รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติลดลงจากปี 2550 ไม่เกินร้อยละ 5
- รายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทยเพิ่มขึ้นจากปี 2551 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5
- สร้างกระแสการเดินทางตลาดต่างประเทศและภายในประเทศเพื่อส่งเสริมให้ปี 2552 เป็นปีแห่งการท่องเที่ยวไทย ประทับใจไทยแลนด์
1.1.7 เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ
- คนไทยทุกกลุ่ม ทุกวัย ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐาน มีการเรียนรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนตลอดชีวิต มีศักยภาพในการดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ และเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศในการเป็นศูนย์กลางการศึกษาฝึกอบรม การวิจัยและพัฒนาในระดับภูมิภาค
- จำนวนสถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพสถานศึกษาเพิ่มขึ้น
วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2552
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545
ครูสุโขทัย มาพบท่านอีกแล้วครับ วันนี้สรุปเกี่ยวกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาฝาก.........เน้นที่จะออกข้อสอบเท่านั้นนะขอรับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๗๔ ก วันที่ 19 สิงหาคม 2542
มีผลบังคับใช้ วันที่ 20 สิงหาคม 2542
มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ มีทั้งหมด 9 หมวด ดังนี้
1. หลักการจัดการศึกษา
2. สิทธิ
3. ระบบการศึกษา
4. แนวทางการจัดการศึกษา ( เป็นหัวใจของพรบ.การศึกษา คือเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ) ข้อสอบออกบ่อยมาก
5. การบริหารการศึกษา
6. มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
7. ครูและบุคลากรทางการศึกษา
8. ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
9. เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หลักการจำ หลัก+ สิท+ ระบบ + แนว+ บริหาร+ ประกัน+ ครู + ทรัพย์+ โน
คำนิยาม
การศึกษาตลอดชีวิต
1 + 2 + 3 ผสมผสานต่อเนื่องตลอดชีวิต
1 คือ ในระบบ
2 คือ นอกระบบ
3 คือ ศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนอุดมศึกษา
ผู้สอน คือ ครู/ คณาจารย์
ครู จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ( สอนในโรงเรียนของรัฐ/ เอกชน )
คณาจารย์ ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ ( สอนอุดมศึกษา)
ผู้บริหารสถานศึกษา มีใบประกอบวิชาชีพ (บริหารโรงเรียน)
ผู้บริหารการศึกษา บุคลากรวิชาชีพเหนือเขตพื้นที่ขึ้นไป
บุคลากรทางการศึกษา คือ x + y + อื่น ๆ
X คือ ผู้บริหารสถานศึกษา
Y คือ ผู้บริหารการศึกษา
อื่น ๆ คือ ผู้สนับสนุน
ม.๔ การศึกษา คือ กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
หมวดที่ 1 ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา
ม.6 ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา คือ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อยู่กับผู้อื่นได้
ม.8 การจัดการศึกษา มีองค์ประกอบดังนี้
1. การศึกษาตลอดชีวิต
2. สังคมมีส่วนร่วม
3. จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
? ตลอดชีวิต + มีส่วนร่วม + ต่อเนื่อง
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
ม.10 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องจัดให้เสมอภาคกัน ไม่น้อยกว่า 12 ปี และจะต้องจัด
1. อย่างต่อเนื่อง 2. มีคุณภาพ 3. ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ รัฐจะต้องจัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือเมื่อพบความพิการ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
ม.15 การจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ
1. การศึกษาในระบบ จะมีคำว่า แน่นอน
2. การศึกษานอกระบบ จะมีคำว่า ยืดหยุ่น
3. การศึกษาตามอัธยาศัย จะมีคำว่า ความต้องการ /ความสนใจ
ม.16 การศึกษาในระบบ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน + การศึกษาระดับอุดมศึกษา
³การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- การศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปี
- การศึกษาก่อนอุดมศึกษา
³การศึกษาระดับอุดมศึกษา
- ต่ำกว่าปริญญา
- ปริญญา
ม.17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 9 ปี โดยเด็กอายุย่างเข้าปีที่ 7 ( เด็กอายุ 7 ปี บริบูรณ์)
เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จนอายุย่างเข้าปีที่ 16 เว้นสอบเข้าได้ปีที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ
( เกี่ยวเนื่องกับ พรบ. การศึกษาภาคบังคับ 2545 ประกาศใช้ 31 ม.ค. 45 มีผลบังคับใช้ 1 ม.ค. 46 )
ม.18 การศึกษาปฐมวัย แบ่งเป็น 3 รูปแบบ
- สถานศึกษาเด็กปฐมวัย
- โรงเรียน
- ศูนย์การเรียน
หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา( เป็นหัวใจของพรบ. การศึกษา)
ม.22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด
ม.23 จุดเน้นในการจัดการศึกษา ( ในระบบ , นอกระบบ, ตามอัธยาศัย ) มีองค์ประกอบดังนี้
1. ความรู้ 2. คุณธรรม 3. บูรณาการ 4. กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาดังต่อไปนี้ 1 ความรู้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม
2 ความรู้ด้านทักษะวิทย์ และเทคโนโลยี
3 ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมฯ
4 ความรู้ด้านคณิต ภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
5 ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต
หมวดที่ 5 การบริหารการจัดการศึกษา( โครงสร้าง)
ä แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ä
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
ม.37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึง
1. ปริมาณสถานศึกษา
2. จำนวนประชากร
3. วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่นๆ
ม.38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการเขตพื้นที่ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่
กำกับดูแล + จัดตั้ง + ยุบ +รวม + เลิก สถานศึกษา รวมทั้ง ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน ทั้ง ร.ร. เอกชน+อปท.
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ม. 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้วย
ó การประกันคุณภาพภายใน
- ถือเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร
- ต้องจัดอย่างต่อเนื่อง
- รายงานประจำปีต่อต้นสังกัด
- เปิดเผยต่อสาธารณชน
ó ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
- ให้มี สมศ. ( สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา) เป็นองค์กรมหาชน มีหน้าที่ พัฒนาเกณฑ์ วิธี และทำการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
- โดยคำนึงถึง ความมุ่งหมาย หลักการ และแนวทางการการจัดการศึกษา
- การประเมินภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี ประเมินครั้งแรกภายใน 6 ปี และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
หมวดที่ 7 ครูและบุคลากรทางการศึกษาะเป็นองค์กรอิสระ
ม.53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกำกับของกระทรวง ( มาตรานี้ทำให้เกิดพรบ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 46 )
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและเทคโนโลยีศึกษาะเป็นองค์กรอิสระ
ม. 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ อปท. บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันและสังคมอื่น และต่างประเทศ มาใช้ในการจัดการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทรัพยากรและเทคโนโลยีศึกษาะเป็นองค์กรอิสระ
ม.64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยี อื่น ๆ ฯลฯ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๗๔ ก วันที่ 19 สิงหาคม 2542
มีผลบังคับใช้ วันที่ 20 สิงหาคม 2542
มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ มีทั้งหมด 9 หมวด ดังนี้
1. หลักการจัดการศึกษา
2. สิทธิ
3. ระบบการศึกษา
4. แนวทางการจัดการศึกษา ( เป็นหัวใจของพรบ.การศึกษา คือเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ) ข้อสอบออกบ่อยมาก
5. การบริหารการศึกษา
6. มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
7. ครูและบุคลากรทางการศึกษา
8. ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
9. เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หลักการจำ หลัก+ สิท+ ระบบ + แนว+ บริหาร+ ประกัน+ ครู + ทรัพย์+ โน
คำนิยาม
การศึกษาตลอดชีวิต
1 + 2 + 3 ผสมผสานต่อเนื่องตลอดชีวิต
1 คือ ในระบบ
2 คือ นอกระบบ
3 คือ ศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาขั้นพื้นฐาน คือการศึกษาก่อนอุดมศึกษา
ผู้สอน คือ ครู/ คณาจารย์
ครู จะต้องมีใบประกอบวิชาชีพ ( สอนในโรงเรียนของรัฐ/ เอกชน )
คณาจารย์ ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ ( สอนอุดมศึกษา)
ผู้บริหารสถานศึกษา มีใบประกอบวิชาชีพ (บริหารโรงเรียน)
ผู้บริหารการศึกษา บุคลากรวิชาชีพเหนือเขตพื้นที่ขึ้นไป
บุคลากรทางการศึกษา คือ x + y + อื่น ๆ
X คือ ผู้บริหารสถานศึกษา
Y คือ ผู้บริหารการศึกษา
อื่น ๆ คือ ผู้สนับสนุน
ม.๔ การศึกษา คือ กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
หมวดที่ 1 ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา
ม.6 ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา คือ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อยู่กับผู้อื่นได้
ม.8 การจัดการศึกษา มีองค์ประกอบดังนี้
1. การศึกษาตลอดชีวิต
2. สังคมมีส่วนร่วม
3. จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
? ตลอดชีวิต + มีส่วนร่วม + ต่อเนื่อง
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
ม.10 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจะต้องจัดให้เสมอภาคกัน ไม่น้อยกว่า 12 ปี และจะต้องจัด
1. อย่างต่อเนื่อง 2. มีคุณภาพ 3. ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ รัฐจะต้องจัดให้ตั้งแต่แรกเกิดหรือเมื่อพบความพิการ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
ม.15 การจัดการศึกษา มี 3 รูปแบบ
1. การศึกษาในระบบ จะมีคำว่า แน่นอน
2. การศึกษานอกระบบ จะมีคำว่า ยืดหยุ่น
3. การศึกษาตามอัธยาศัย จะมีคำว่า ความต้องการ /ความสนใจ
ม.16 การศึกษาในระบบ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน + การศึกษาระดับอุดมศึกษา
³การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- การศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปี
- การศึกษาก่อนอุดมศึกษา
³การศึกษาระดับอุดมศึกษา
- ต่ำกว่าปริญญา
- ปริญญา
ม.17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 9 ปี โดยเด็กอายุย่างเข้าปีที่ 7 ( เด็กอายุ 7 ปี บริบูรณ์)
เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จนอายุย่างเข้าปีที่ 16 เว้นสอบเข้าได้ปีที่ 9 ของการศึกษาภาคบังคับ
( เกี่ยวเนื่องกับ พรบ. การศึกษาภาคบังคับ 2545 ประกาศใช้ 31 ม.ค. 45 มีผลบังคับใช้ 1 ม.ค. 46 )
ม.18 การศึกษาปฐมวัย แบ่งเป็น 3 รูปแบบ
- สถานศึกษาเด็กปฐมวัย
- โรงเรียน
- ศูนย์การเรียน
หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา( เป็นหัวใจของพรบ. การศึกษา)
ม.22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด
ม.23 จุดเน้นในการจัดการศึกษา ( ในระบบ , นอกระบบ, ตามอัธยาศัย ) มีองค์ประกอบดังนี้
1. ความรู้ 2. คุณธรรม 3. บูรณาการ 4. กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษาดังต่อไปนี้ 1 ความรู้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม
2 ความรู้ด้านทักษะวิทย์ และเทคโนโลยี
3 ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมฯ
4 ความรู้ด้านคณิต ภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
5 ความรู้ด้านการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต
หมวดที่ 5 การบริหารการจัดการศึกษา( โครงสร้าง)
ä แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ä
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
ม.37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึง
1. ปริมาณสถานศึกษา
2. จำนวนประชากร
3. วัฒนธรรมและความเหมาะสมด้านอื่นๆ
ม.38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาให้มีคณะกรรมการเขตพื้นที่ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่
กำกับดูแล + จัดตั้ง + ยุบ +รวม + เลิก สถานศึกษา รวมทั้ง ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน ทั้ง ร.ร. เอกชน+อปท.
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ม. 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้วย
ó การประกันคุณภาพภายใน
- ถือเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร
- ต้องจัดอย่างต่อเนื่อง
- รายงานประจำปีต่อต้นสังกัด
- เปิดเผยต่อสาธารณชน
ó ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
- ให้มี สมศ. ( สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา) เป็นองค์กรมหาชน มีหน้าที่ พัฒนาเกณฑ์ วิธี และทำการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
- โดยคำนึงถึง ความมุ่งหมาย หลักการ และแนวทางการการจัดการศึกษา
- การประเมินภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี ประเมินครั้งแรกภายใน 6 ปี และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน
หมวดที่ 7 ครูและบุคลากรทางการศึกษาะเป็นองค์กรอิสระ
ม.53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกำกับของกระทรวง ( มาตรานี้ทำให้เกิดพรบ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา 46 )
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและเทคโนโลยีศึกษาะเป็นองค์กรอิสระ
ม. 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ อปท. บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันและสังคมอื่น และต่างประเทศ มาใช้ในการจัดการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทรัพยากรและเทคโนโลยีศึกษาะเป็นองค์กรอิสระ
ม.64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยี อื่น ๆ ฯลฯ
วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2552
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 (ต่อ)
ครูสุโขทัย มาอีกแล้วขอรับ.......ไม่รู้ว่ามีใครดูบ้างหรือเปล่าน๊า...ส่งความคิดเห็นมาหน่อยนะเพื่อเรียกขวัญและกำลังใจในการเผยแพร่ความรู้จ้า.......วันนีก้อมาต่อจากเมื่อวานก้อแล้วกันนะ
ส่วนที่ 4 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง
ให้มีการเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายใน 30 วันนับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ่งๆให้มีกำหนดเวลา 120 วัน
ส่วนที่ 6 การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอได้ก็แต่โดย
1. คณะรัฐมนตรี
2. ส.ส.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของสมาชิกสภาหรือทั้งสองสภา
3. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
ส่วนที่ 7 การตราพระราชบัญญัติ
ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดย
1. คณะรัฐมนตรี
2. ส.ส.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของสมาชิกสภาหรือทั้งสองสภา
3. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
4. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
***** ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงิน จะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรี*****
ส่วนที่ 9 การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิกเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่า 1 ใน 6 ของสมาชิกเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีรายบุคคล
สมาชิกวุฒิสภา ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของสมาชิกเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหา โดยไม่มีการลงมติ
หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ( เสนอกฎหมาย)
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือข้าราชการระดับสูง ( ถอดถอน)
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญ (แก้ไขรัฐธรรมนูญ)
1 เสนอ 2 ถอน 5 แก้ไข
หมวด 8 การเงิน การคลังและงบประมาณ
งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินให้ทำเป็นพระราชบัญญัติ
เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งนายรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอีกไม่เกิน 35 คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรี มีจำนวนไม่เกิน 36 คน
นายกรัฐมนตรีต้องเป็น ส.ส.
ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่า 8 ปีมิได้
สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีภายใน 30 วัน***นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก****
ต้องมี ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 รับรอง
คะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง กระทำโดยเปิดเผย
พ้น 30 วันนับแต่เรียกประชุมสภาครั้งแรกไม่มีผู้ได้รับความเห็นชอบให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำความกราบบังคมทูลภายใน 15 วัน เพื่อทรงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งบุคคลผู้ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดเป็นนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์
3. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
4. ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 102 ( การเป็น ส.ส.)
5. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุก โดยพ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปีก่อนได้รับแต่งตั้งเว้นแต่ความผิดโดยประมาทหรือลหุโทษ
6. ไม่เป็น ส.ว. หรือเคยเป็น ส.ว. ซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน 2 ปี
หมวด 10 ศาล
ศาลรัฐธรรมนูญ
จำนวน 9 คน พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ประกอบด้วย
1. ผู้พิพากษาในศาลฎีกา 3 คน
2. ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด 2 คน
3. ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ 2 คน
4. ผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ 2 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปีบริบูรณ์ มีคณะกรรมการสรรหา แล้วให้รัฐสภาเห็นชอบ
เลือกกันเองเป็นประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พ้นจากตำแหน่งเมื่ออายุครบ 70 ปีบริบูรณ์
ศาลปกครอง
ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ด้วยก็ได้
คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง ประกอบด้วย
1. ประธานศาลปกครองสูงสุด
2. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ซึ่งเป็นตุลาการในศาลปกครองเลือกกันเอง
3. ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากวุฒิสภา 2 คน จากคณะรัฐมนตรี 1 คน
ศาลทหาร
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซึ่งผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารและคดีอื่น
หมวด 11 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
องค์กรอิสระ จำนวน วาระ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 5 คน 7 ปี ประธานวุฒิสภา
2. ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3 คน 6 ปี ประธานวุฒิสภา
3. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ9 คน 9 ปี ประธานวุฒิสภา
4. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 7 คน 6 ปี ประธานวุฒิสภา
*** วาระได้วาระเดียว
องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ จำนวน วาระ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
1. องค์กรอัยการ * * ประธานวุฒิสภา
2. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ7 คน 6 ปี ประธานวุฒิสภา
3. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ** ** ประธานวุฒิสภา
หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองดังต่อไปนี้ มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งหรือพ้นจากตำแหน่ง
1. นายกรัฐมนตรี
2. รัฐมนตรี
3. ส.ส.
4. ส.ว.
5. ข้าราชการการเมืองอื่น
6. ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
การยื่นบัญชีแสดงทรัพย์สินและหนี้สิน
ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เข้ารับตำแหน่งและพ้นจากตำแหน่ง
ตายในระหว่างดำรงตำแหน่งหรือก่อนยื่นแสดง ให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกยื่นแทนภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ผู้ดำรงตำแหน่งตาย
พ้นจากตำแหน่งครบ 1 ปีให้ยื่นอีกครั้งภายใน 30 วันนับแต่วันที่ครบ 1 ปี
การถอดถอนออกจากตำแหน่ง
1. วุฒิสภามีอำนาจถอดถอน นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด
2. ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานวุฒิสภาให้ถอดถอน
3. ส.ว. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภาถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตำแหน่ง
4. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งได้
การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้ศาลฏีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีอำนาจพิจารณาพิพากษา
บทเฉพาะกาล
มาตรา 309 บรรดาการใดๆที่ได้รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย( ฉบับชั่วคราว)พุทธศักราช 2549 ว่าชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ รวมทั้งการกระทำที่เกี่ยวเนื่องกับกรณีดังกล่าว ไม่ว่าก่อนหรือหลังวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ให้ถือว่าการนั้นและการกระทำนั้นชอบด้วยรัฐธรรมนูญ นี้
จบแล้วครับ......สำหรับรัฐธรรมนูญปี 50 พอจะรู้เรื่องหรือเปล่านะ........เพราะไม่ได้เน้นให้เข้มหรือขีดเส้นใต้เหมือน MS.word มีความตั้งใจในการเผยแพร่ความรู้เป็นอย่างยิ่งเลย........เผื่อว่าจะได้รับความขอบคุณจากท่านบ้าง.......วันหน้าเจอกันนะ.......... ขอบคุณจ้า....
ส่วนที่ 4 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง
ให้มีการเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายใน 30 วันนับแต่วันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสมัยหนึ่งๆให้มีกำหนดเวลา 120 วัน
ส่วนที่ 6 การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะเสนอได้ก็แต่โดย
1. คณะรัฐมนตรี
2. ส.ส.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของสมาชิกสภาหรือทั้งสองสภา
3. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
ส่วนที่ 7 การตราพระราชบัญญัติ
ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดย
1. คณะรัฐมนตรี
2. ส.ส.ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของสมาชิกสภาหรือทั้งสองสภา
3. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
4. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
***** ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการเงิน จะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรี*****
ส่วนที่ 9 การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของสมาชิกเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่า 1 ใน 6 ของสมาชิกเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีรายบุคคล
สมาชิกวุฒิสภา ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของสมาชิกเท่าที่มีอยู่ มีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปรายทั่วไปในวุฒิสภาเพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหา โดยไม่มีการลงมติ
หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ( เสนอกฎหมาย)
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือข้าราชการระดับสูง ( ถอดถอน)
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภาเพื่อให้รัฐสภาพิจารณาแก้ไขรัฐธรรมนูญ (แก้ไขรัฐธรรมนูญ)
1 เสนอ 2 ถอน 5 แก้ไข
หมวด 8 การเงิน การคลังและงบประมาณ
งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินให้ทำเป็นพระราชบัญญัติ
เงินรายได้ของหน่วยงานของรัฐที่ไม่ต้องนำส่งเป็นรายได้แผ่นดินให้หน่วยงานของรัฐนั้นทำรายงานการรับและการใช้จ่ายเงินดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี และให้คณะรัฐมนตรีทำรายงานเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งนายรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอีกไม่เกิน 35 คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรี มีจำนวนไม่เกิน 36 คน
นายกรัฐมนตรีต้องเป็น ส.ส.
ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่า 8 ปีมิได้
สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีภายใน 30 วัน***นับแต่วันที่มีการเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก****
ต้องมี ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 รับรอง
คะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง กระทำโดยเปิดเผย
พ้น 30 วันนับแต่เรียกประชุมสภาครั้งแรกไม่มีผู้ได้รับความเห็นชอบให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรนำความกราบบังคมทูลภายใน 15 วัน เพื่อทรงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งบุคคลผู้ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดเป็นนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์
3. สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
4. ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 102 ( การเป็น ส.ส.)
5. ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุก โดยพ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปีก่อนได้รับแต่งตั้งเว้นแต่ความผิดโดยประมาทหรือลหุโทษ
6. ไม่เป็น ส.ว. หรือเคยเป็น ส.ว. ซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดลงมาแล้วยังไม่เกิน 2 ปี
หมวด 10 ศาล
ศาลรัฐธรรมนูญ
จำนวน 9 คน พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ประกอบด้วย
1. ผู้พิพากษาในศาลฎีกา 3 คน
2. ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด 2 คน
3. ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ 2 คน
4. ผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ 2 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปีบริบูรณ์ มีคณะกรรมการสรรหา แล้วให้รัฐสภาเห็นชอบ
เลือกกันเองเป็นประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พ้นจากตำแหน่งเมื่ออายุครบ 70 ปีบริบูรณ์
ศาลปกครอง
ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น และจะมีศาลปกครองชั้นอุทธรณ์ด้วยก็ได้
คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง ประกอบด้วย
1. ประธานศาลปกครองสูงสุด
2. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ซึ่งเป็นตุลาการในศาลปกครองเลือกกันเอง
3. ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับเลือกจากวุฒิสภา 2 คน จากคณะรัฐมนตรี 1 คน
ศาลทหาร
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญา ซึ่งผู้กระทำผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหารและคดีอื่น
หมวด 11 องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
องค์กรอิสระ จำนวน วาระ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 5 คน 7 ปี ประธานวุฒิสภา
2. ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3 คน 6 ปี ประธานวุฒิสภา
3. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ9 คน 9 ปี ประธานวุฒิสภา
4. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 7 คน 6 ปี ประธานวุฒิสภา
*** วาระได้วาระเดียว
องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ จำนวน วาระ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
1. องค์กรอัยการ * * ประธานวุฒิสภา
2. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ7 คน 6 ปี ประธานวุฒิสภา
3. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ** ** ประธานวุฒิสภา
หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองดังต่อไปนี้ มีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ทุกครั้งที่เข้ารับตำแหน่งหรือพ้นจากตำแหน่ง
1. นายกรัฐมนตรี
2. รัฐมนตรี
3. ส.ส.
4. ส.ว.
5. ข้าราชการการเมืองอื่น
6. ผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
การยื่นบัญชีแสดงทรัพย์สินและหนี้สิน
ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เข้ารับตำแหน่งและพ้นจากตำแหน่ง
ตายในระหว่างดำรงตำแหน่งหรือก่อนยื่นแสดง ให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกยื่นแทนภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ผู้ดำรงตำแหน่งตาย
พ้นจากตำแหน่งครบ 1 ปีให้ยื่นอีกครั้งภายใน 30 วันนับแต่วันที่ครบ 1 ปี
การถอดถอนออกจากตำแหน่ง
1. วุฒิสภามีอำนาจถอดถอน นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. ประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสุด
2. ส.ส. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของสภาผู้แทนราษฎร มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานวุฒิสภาให้ถอดถอน
3. ส.ว. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานวุฒิสภาเพื่อให้วุฒิสภาถอดถอนสมาชิกวุฒิสภาออกจากตำแหน่ง
4. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 20,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่งได้
การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้ศาลฏีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีอำนาจพิจารณาพิพากษา
บทเฉพาะกาล
มาตรา 309 บรรดาการใดๆที่ได้รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย( ฉบับชั่วคราว)พุทธศักราช 2549 ว่าชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ รวมทั้งการกระทำที่เกี่ยวเนื่องกับกรณีดังกล่าว ไม่ว่าก่อนหรือหลังวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ให้ถือว่าการนั้นและการกระทำนั้นชอบด้วยรัฐธรรมนูญ นี้
จบแล้วครับ......สำหรับรัฐธรรมนูญปี 50 พอจะรู้เรื่องหรือเปล่านะ........เพราะไม่ได้เน้นให้เข้มหรือขีดเส้นใต้เหมือน MS.word มีความตั้งใจในการเผยแพร่ความรู้เป็นอย่างยิ่งเลย........เผื่อว่าจะได้รับความขอบคุณจากท่านบ้าง.......วันหน้าเจอกันนะ.......... ขอบคุณจ้า....
วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552
สรุปรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 2550
ครูสุโขทัย ได้สรุปเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ 2550 เผื่อว่าจะนำไปใช้ในการสอบภาค ข นะครับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ให้ไว้ ณ วันที่ 24 สิงหาคม 2550
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 124 ตอนที่ 47 ก วันที่ 24 สิงหาคม 2550
มี 15 หมวด 309 มาตรา
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
หมวด 6 รัฐสภา
หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงองประชาชน
หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
หมวด 10 ศาล
หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
หมวด 13 จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
บทเฉพาะกาล
สภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทั้งฉบับสำหรับเป็นแนวทางการปกครองประเทศ
นายนรนิติ เศรษฐบุตร เป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
นาวาอากาศตรีประสงค์ สุ่นศิริ เป็นประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้นำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯ
นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
มาตรา 2 อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และทางศาล
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม
มาตรา 7 เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
คณะองคมนตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน
คณะองคมนตรี รวมไม่เกิน 19 คน
ประธานองคมนตรี ประธานรัฐสภา ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
องคมนตรีอื่น ประธานองคมนตรี ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ 8 สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา
มาตรา 49 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพหรือผู้อยู่ในสภาวะยากลำบากต้องได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐ เพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่น
การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ย่อมได้รับการคุ้มครองและส่งเสริมที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา 50 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ
การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ ย่อมได้รับความคุ้มครองทั้งนี้เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย
มาตรา 70 บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา 71 บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติและปฏิบัติตามกฎหมาย
มาตรา 72 บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
มาตรา 73 บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้องและสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
มาตรา 75 คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดิน ต้องชี้แจงนโยบายที่จะดำเนินการต่อรัฐสภาและต้องจัดทำรายงานแสดงผลการดำเนินการเสนอต่อรัฐสภาปีละ 1 ครั้ง
ส่วนที่ 2 แนวนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐ
มาตรา 77 รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตยและบูรณาการแห่งเขตอำนาจรัฐ
ส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ดังต่อไปนี้
1. บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ
2. จัดระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขต อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจนเหมาะสม
3. พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐควบคู่ไปกับปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน
4. ให้มีแผนพัฒนาการเมือง รวมทั้งให้มีสภาพัฒนาการเมืองที่มีความเป็นอิสระ
ส่วนที่ 4 แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษาและวัฒนธรรม
มาตรา 79 รัฐต้องให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา
มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษาและวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้
1. คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย
2. ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน
3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติ จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลการทางการศึกษาให้ก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
4. ส่งเสริมและสนับสนุนการกระจายอำนาจเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน องค์การทางศาสนาและเอกชนจัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษาให้เท่าเทียมและสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
5. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆและเผยแพร่ข้อมูลผลการศึกษาวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยของรัฐ
6. ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามัคคีและการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสำนึกและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนค่านิยมอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่น
หมวด 6 รัฐสภา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของแต่ละสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานสภาว่าสมาชิกภาพของคนใดคนหนึ่งแห่งสภานั้นสิ้นสุดลง
ให้ประธานสภาที่ได้รับคำร้อง ส่งคำร้องนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกผู้นั้นสิ้นสุดลงหรือไม่
ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร
สภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิก จำนวน 480 คน
แบบแบ่งเขต 400 คน
แบบสัดส่วน 80 คน
จังหวัดใดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ไม่เกิน 3 คน ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง แต่ถ้ามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกิน 3 คนให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งแต่ละเขตมีสมาชิกได้ 3 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน ให้ดำเนินการดังนี้
ให้จัดแบ่งพื้นที่ประเทศออกเป็น 8 กลุ่มจังหวัด และให้แต่ละกลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
แต่ละเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 10 คน
บุคคลต่อไปนี้เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
1. มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผุ้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
2. อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง
3. มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
บุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
1. เป็นภิกษุสามเณร นักพรต นักบวช
2. อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
3. ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
4. วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ
ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองพรรคเดียวติดต่อกันไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
4. ผู้สมัครแบบแบ่งเขตต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ด้วยคือ มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี / เกิดในจังหวัดที่สมัคร/ เคยศึกษาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี / เคยรับราชการหรือมีชื่อในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
ลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
* ติดยาเสพติดให้โทษ ล้มละลายหรือเคยล้มละลาย เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยพ้นโทษมายังไม่เกิน 5 ปี เคยถูกไล่ออก ปลดออกหรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ พ้นจากการจากการเป็น สมาชิกวุฒิสภายังไม่เกิน 2 ปี
อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง หมดวาระเลือกตั้งภายใน 45 วัน
พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร
ยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา
กำหนดวันเลือกตั้งภายเวลาไม่น้อยกว่า 45 วันแต่ไม่เกิน 60 วันนับแต่วันยุบสภา
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลงนอกจากหมดวาระ หรือยุบสภา ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
แบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนภายใน 45 วัน เว้นแต่วาระเหลือไม่ถึง 180 วัน
แบบสัดส่วน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรประกาศผู้มีรายชื่อลำดับถัดไปในบัญชีของพรรคการเมืองนั้นเลื่อนขึ้นมาแทน โดยต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งว่าง
ส่วนที่ 3 วุฒิสภา
วุฒิสภา ประกอบด้วยสมาชิก จำนวน 150 คน
มาจากการเลือกตั้งจังหวัดละหนึ่งคน รวม 76 คน
มาจากการสรรหา รวม 74 คน
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามสมัครหรือรับการเสนอชื่อเป็นสมาชิกวุฒิสภา
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันสมัครหรือวันเสนอชื่อ
3. สำเร็จการศึกษา ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
4. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดต่อไปนี้ด้วย คือ มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี / เกิดในจังหวัดที่สมัคร/เคยศึกษาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี เคยรับราชการหรือมีชื่อในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี / ไม่เป็นบุพการี คู่สมรสหรือบุตรของผู้เป็น ส.ส. หรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
สมาชิกภาพสิ้นสุดลงยังไม่เกิน 2 ปี จะเป็นรัฐมนตรีหรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมิได้
สมาชิกสภาพของสมาชิกวุฒิสภามีกำหนดคราวละ 6 ปี นับแต่วันเลือกตั้งหรือวันประกาศผลการสรรหา
*****ดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินหนึ่งวาระไม่ได้****เมื่อวาระของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งสิ้นสุดลง ให้มีการเลือกตั้งแทนภายใน 30 วัน ถ้ามีผู้มาจากการสรรหา ต้องดำเนินการสรรหาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่วาระสิ้นสุด
วันนี้แค่นี้ก่อนนะค่อยมาว่ากันใหม่
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ให้ไว้ ณ วันที่ 24 สิงหาคม 2550
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 124 ตอนที่ 47 ก วันที่ 24 สิงหาคม 2550
มี 15 หมวด 309 มาตรา
หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
หมวด 6 รัฐสภา
หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงองประชาชน
หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ
หมวด 9 คณะรัฐมนตรี
หมวด 10 ศาล
หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หมวด 12 การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
หมวด 13 จริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น
หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
บทเฉพาะกาล
สภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทั้งฉบับสำหรับเป็นแนวทางการปกครองประเทศ
นายนรนิติ เศรษฐบุตร เป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
นาวาอากาศตรีประสงค์ สุ่นศิริ เป็นประธานคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นผู้นำร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าฯ
นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
หมวด 1 บททั่วไป
มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
มาตรา 2 อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และทางศาล
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม
มาตรา 7 เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
หมวด 2 พระมหากษัตริย์
คณะองคมนตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน
คณะองคมนตรี รวมไม่เกิน 19 คน
ประธานองคมนตรี ประธานรัฐสภา ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
องคมนตรีอื่น ประธานองคมนตรี ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ 8 สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา
มาตรา 49 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพหรือผู้อยู่ในสภาวะยากลำบากต้องได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐ เพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่น
การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ย่อมได้รับการคุ้มครองและส่งเสริมที่เหมาะสมจากรัฐ
มาตรา 50 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในทางวิชาการ
การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งานวิจัยตามหลักวิชาการ ย่อมได้รับความคุ้มครองทั้งนี้เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ของพลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย
มาตรา 70 บุคคลมีหน้าที่พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา 71 บุคคลมีหน้าที่ป้องกันประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติและปฏิบัติตามกฎหมาย
มาตรา 72 บุคคลมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
มาตรา 73 บุคคลมีหน้าที่รับราชการทหาร ช่วยเหลือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ์ ปกป้องและสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
มาตรา 75 คณะรัฐมนตรีที่จะเข้าบริหารราชการแผ่นดิน ต้องชี้แจงนโยบายที่จะดำเนินการต่อรัฐสภาและต้องจัดทำรายงานแสดงผลการดำเนินการเสนอต่อรัฐสภาปีละ 1 ครั้ง
ส่วนที่ 2 แนวนโยบายด้านความมั่นคงของรัฐ
มาตรา 77 รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตยและบูรณาการแห่งเขตอำนาจรัฐ
ส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
มาตรา 78 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ดังต่อไปนี้
1. บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคำนึงถึงผลประโยชน์ของชาติในภาพรวมเป็นสำคัญ
2. จัดระบบบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขต อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจนเหมาะสม
3. พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐควบคู่ไปกับปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน
4. ให้มีแผนพัฒนาการเมือง รวมทั้งให้มีสภาพัฒนาการเมืองที่มีความเป็นอิสระ
ส่วนที่ 4 แนวนโยบายด้านศาสนา สังคม การสาธารณสุข การศึกษาและวัฒนธรรม
มาตรา 79 รัฐต้องให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา
มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษาและวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้
1. คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย
2. ส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน
3. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติ จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลการทางการศึกษาให้ก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก รวมทั้งปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกของความเป็นไทย มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
4. ส่งเสริมและสนับสนุนการกระจายอำนาจเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน องค์การทางศาสนาและเอกชนจัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษาให้เท่าเทียมและสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
5. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆและเผยแพร่ข้อมูลผลการศึกษาวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยของรัฐ
6. ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามัคคีและการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสำนึกและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ ตลอดจนค่านิยมอันดีงามและภูมิปัญญาท้องถิ่น
หมวด 6 รัฐสภา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของแต่ละสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องต่อประธานสภาว่าสมาชิกภาพของคนใดคนหนึ่งแห่งสภานั้นสิ้นสุดลง
ให้ประธานสภาที่ได้รับคำร้อง ส่งคำร้องนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยว่าสมาชิกภาพของสมาชิกผู้นั้นสิ้นสุดลงหรือไม่
ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร
สภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิก จำนวน 480 คน
แบบแบ่งเขต 400 คน
แบบสัดส่วน 80 คน
จังหวัดใดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ไม่เกิน 3 คน ให้ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง แต่ถ้ามีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เกิน 3 คนให้แบ่งเขตจังหวัดออกเป็นเขตเลือกตั้งแต่ละเขตมีสมาชิกได้ 3 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน ให้ดำเนินการดังนี้
ให้จัดแบ่งพื้นที่ประเทศออกเป็น 8 กลุ่มจังหวัด และให้แต่ละกลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
แต่ละเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 10 คน
บุคคลต่อไปนี้เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
1. มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผุ้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
2. อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง
3. มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
บุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
1. เป็นภิกษุสามเณร นักพรต นักบวช
2. อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
3. ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
4. วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ
ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. อายุไม่ต่ำกว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองพรรคเดียวติดต่อกันไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึงวันเลือกตั้ง
4. ผู้สมัครแบบแบ่งเขตต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ด้วยคือ มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี / เกิดในจังหวัดที่สมัคร/ เคยศึกษาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี / เคยรับราชการหรือมีชื่อในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
ลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
* ติดยาเสพติดให้โทษ ล้มละลายหรือเคยล้มละลาย เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกโดยพ้นโทษมายังไม่เกิน 5 ปี เคยถูกไล่ออก ปลดออกหรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ พ้นจากการจากการเป็น สมาชิกวุฒิสภายังไม่เกิน 2 ปี
อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง หมดวาระเลือกตั้งภายใน 45 วัน
พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร
ยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา
กำหนดวันเลือกตั้งภายเวลาไม่น้อยกว่า 45 วันแต่ไม่เกิน 60 วันนับแต่วันยุบสภา
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลงนอกจากหมดวาระ หรือยุบสภา ให้ดำเนินการดังต่อไปนี้
แบบแบ่งเขตเลือกตั้งแทนภายใน 45 วัน เว้นแต่วาระเหลือไม่ถึง 180 วัน
แบบสัดส่วน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรประกาศผู้มีรายชื่อลำดับถัดไปในบัญชีของพรรคการเมืองนั้นเลื่อนขึ้นมาแทน โดยต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ตำแหน่งว่าง
ส่วนที่ 3 วุฒิสภา
วุฒิสภา ประกอบด้วยสมาชิก จำนวน 150 คน
มาจากการเลือกตั้งจังหวัดละหนึ่งคน รวม 76 คน
มาจากการสรรหา รวม 74 คน
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามสมัครหรือรับการเสนอชื่อเป็นสมาชิกวุฒิสภา
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์ นับถึงวันสมัครหรือวันเสนอชื่อ
3. สำเร็จการศึกษา ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
4. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดต่อไปนี้ด้วย คือ มีชื่อในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี / เกิดในจังหวัดที่สมัคร/เคยศึกษาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี เคยรับราชการหรือมีชื่อในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี / ไม่เป็นบุพการี คู่สมรสหรือบุตรของผู้เป็น ส.ส. หรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
สมาชิกภาพสิ้นสุดลงยังไม่เกิน 2 ปี จะเป็นรัฐมนตรีหรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมิได้
สมาชิกสภาพของสมาชิกวุฒิสภามีกำหนดคราวละ 6 ปี นับแต่วันเลือกตั้งหรือวันประกาศผลการสรรหา
*****ดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินหนึ่งวาระไม่ได้****เมื่อวาระของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้งสิ้นสุดลง ให้มีการเลือกตั้งแทนภายใน 30 วัน ถ้ามีผู้มาจากการสรรหา ต้องดำเนินการสรรหาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่วาระสิ้นสุด
วันนี้แค่นี้ก่อนนะค่อยมาว่ากันใหม่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)